Page 151 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 151

4-13






                  ตารางที่ 4-14 Phase of soil groups


                   Phase  Phase_ID  Phase_Des_th                                     Phase_en

                    ไมมี      00      ไมมี Phase                                        -

                     b         01      มีการทำคันนา                           Bunded

                     ca        02      พบปูนทุติยภูมิ                         Secondary Lime

                    clay       03      เนื้อดินเปนดินเหนียว                  Clay

                     col       04      เนื้อดินเปนดินรวนหยาบ                Coarse Loamy

                    dan        05      พบชั้นดาน                              Duripan

                     hi        06      ดินนาที่อยูในสภาพพื้นที่ดอน           High

                     gm        07      พบจุดประสีเทาจากการขังน้ำ              Gray mottle

                     md        08      ดินมีความลึกปานกลาง                    Moderately Deep

                   sheet       09      พบชั้นลูกรังเปนแผนแข็ง               sheet
                     sa        10      ดินมีความเค็ม                          Saline soil


                      f        11      พื้นที่น้ำทวม                         Flooding
                     RC        12      ที่ดินหินโผล                           -


                   gm,sa       13      พบจุดประสีเทาจากการขังน้ำ ดินมีความเค็ม  Grey mottle, Saline soil
                    hi,sa      14      ดินนาที่อยูในสภาพพื้นที่ดอน ดินมีความเค็ม  High, Saline soil


                        ระบบการจัดการฐานขอมูล จะมีสวนประกอบที่สำคัญ 3 สวนไดแก (กรมชลประทาน, 2560)

                        1) ภาษาคำนิยามของขอมูล [Data Definition Language (DDL)] ในสวนนี้จะกลาวถึง
                  สวนประกอบของระบบการจัดการฐาน ขอมูลวาขอมูลแตละสวนประกอบดวยอะไรบาง
                  (Data element) ในฐานขอมูลซึ่งเปนภาษาทางการที่นักเขียนโปรแกรมใชในการ สรางเนื้อหาขอมูล

                  และโครงสรางขอมูลกอนที่ขอมูลดังกลาวจะถูกแปลงเปนแบบฟอรมที่สตองการของโปรแกรมประยุกต
                  หรือในสวนของ DDL จะประกอบดวยคำสั่งที่ใชในการกำหนดโครงสรางขอมูลวามีคอลัมนอะไร
                  แตละคอลัมนเก็บขอมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน การกำหนดดัชนี เปนตน

                        2) ภาษาการจัดการฐานขอมูล (Data Manipulation Language (DML) เปนภาษาเฉพาะที่ใชใน
                  การจัดการระบบฐานขอมูล ซึ่งอาจจะเปนการเชื่อมโปรแกรมภาษาในยุคที่สามและยุคที่สี่เขาดวยกันเพื่อ

                  จัดการขอมูลในฐานขอมูล ภาษานี้ประกอบดวยคำ สิ่งที่อนุญาตใหผูใชสามารถสรางโปรแกรมพิเศษขึ้นมา
                  รวมถึงขอมูลตาง ๆ ในปจจุบันที่นิยมใช ไดแก ภาษา SQL (Structure Query Language)









                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156