Page 102 - รายงานแผนการใช้ที่ดินแม่กกตอนล่าง
P. 102

3-53






                      5)  น ้าใต้ดิน
                        (1) แหล่งน ้าใต้ดิน

                          น ้าใต้ดินเป็นหนึ่งในสามประเภทของแหล่งน ้าตามธรรมชาติ (น ้าฟ้า น ้าผิวดินและน ้า

                  ใต้ดิน) โดยในหัวข้อนี้จะพิจารณาเฉพาะน ้าบาดาลซึ่งเกิดจากน ้าบางส่วนที่เหลือจากการกักเก็บที่ผิวดิน
                  ไหลซึมลงไปใต้ดินไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดินและในหิน ชั้นดินหรือหินส่วนนี้ไม่มีน ้าอยู่เต็มทุก

                  ช่องว่าง หินส่วนล่างซึ่งอยู่ใต้ระดับน ้าใต้ดินลงไป และมีน ้าบรรจุอยู่เต็มทุกช่องว่างเรียกว่า โซนอิ่มตัว

                  ด้วยน ้าซึ่งถือเป็นแหล่งน ้าบาดาล หินที่เป็นแหล่งน ้าบาดาลนี้เรียกรวมๆ ว่า หินอุ้มน ้า (เจริญ, 2540)

                          จากข้อมูลของกรมทรัพยากรน ้าบาดาล (2560) พบว่าลุ่มน ้าสาขาน ้าแม่กกตอนล่าง มีชั้น
                  หินอุ้มน ้าจ านวน 15 ประเภท (รูปที่ 3-4 ) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                          1.1) ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคเก่า พบกระจายอยู่ทั่วบริเวณพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่

                  ประมาณ 144,328 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.23 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
                          1.2) ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคใหม่ พบกระจายอยู่บริเวณตอนใต้ฝั่งตะวันออก

                  ของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่ประมาณ 334,771 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.05 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.3) ชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนน ้าพา พบบริเวณในช่วงระหว่างชั้นหินอุ้มน ้าหินแกรนิต ชั้นหิน
                  อุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคใหม่และชั้นหินอุ้มน ้าตะกอนตะพักน ้ายุคเก่า มีเนื้อที่ประมาณ 80,264 ไร่

                  คิดเป็นร้อยละ 6.25 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.4) ชั้นหินอุ้มน ้าหินแกรนิต ซึ่งเป็นชั้นหินอุ้มน ้าที่พบมากที่สุด โดยเฉพาะด้านบนของ
                  พื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่ประมาณ 382,665 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 29.78 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.5) ชั้นหินอุ้มน ้าหินคาร์บอเนตอายุไทรแอสซิก มีเนื้อที่ประมาณ 2,083 ไร่ คิดเป็น

                  ร้อยละ 0.16 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.6) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชั้นกึ่งแปรอายุคาร์บอนิเฟอรัส พบบริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่
                  ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่ประมาณ 6,975 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.54 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.7) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชั้นกึ่งแปรอายุเพอร์เมียน คาร์บอนิเฟอรัส มีเนื้อที่ประมาณ

                  49,656 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.86 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
                          1.8) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชุดโคราชตอนกลาง พบบริเวณตอนล่างของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่

                  ประมาณ 8,256 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.64 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า

                          1.9) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชุดโคราชตอนล่าง มีเนื้อที่ประมาณ 7,683 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.60 ของ

                  เนื้อที่ลุ่มน ้า
                          1.10) ชั้นหินอุ้มน ้าหินชุดล าปาง พบกระจายอยู่ด้านตะวันออกของพื้นที่ลุ่มน ้าสาขา มีเนื้อที่

                  ประมาณ 53,291 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.15 ของเนื้อที่ลุ่มน ้า
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107