Page 156 - รายงานแผนการใช้ที่ดินน้ำแม่ลาว
P. 156

3-100





                              ดังนั้น การพัฒนาจึงมุ่งเน้นในเรื่องการลดช่องว่างรายได้ระหว่างภาคและมีการ
                  กระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากขึ้น การเพิ่มจ านวนเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่ส าหรับคน

                  ทุกกลุ่มในสังคม พื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักมีระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตรต่อ

                  สิ่งแวดล้อม และการเพิ่มมูลค่าการลงทุนในพื้นที่เศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน
                              แนวทางการพัฒนาส าคัญ ประกอบด้วย การพัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทาง

                  เศรษฐกิจให้กระจายตัวอย่างทั่วถึง พัฒนาภาคเหนือให้เป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เช่น

                  ฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้ซึ่งเป็นป่าต้นน้าในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน โดยให้ความส าคัญกับ
                  การฟื้นฟูป่าต้นน ้าที่เสื่อมโทรมให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้เป็นแหล่งดูดซับน ้าฝนและเพิ่มปริมาณ

                  น ้าต้นทุนในแต่ละลุ่มน ้า ควบคู่ไปกับการป้องกันแก้ไขปัญหาการบุกรุกทาลายพื้นที่ป่าและส่งเสริม

                  การปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าต้นน ้า

                    3.3.5  แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12

                  (พ.ศ. 2560-2564)
                            ให้ความส าคัญกับการพัฒนาเกษตรกรให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างสมดุล มีการ

                  รวมกลุ่มเป็นสถาบันเกษตรกรในชุมชนต่างๆ เพื่อผลักดัน ให้สามารถด าเนินงานในรูปของธุรกิจ

                  เกษตรที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ
                  พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาขยายผลและประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาการเกษตรใน

                  ระยะต่อไป ถือเป็นก้าวส าคัญของการพัฒนาประเทศจากวิถีการท าเกษตรแบบดั้งเดิมไปสู่การบริหาร

                  จัดการการเกษตรแบบสมัยใหม่ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุนการผลิตสินค้า
                  เกษตร ซึ่งถือเป็นการขับเคลื่อนในช่วง 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 – 2564) ของยุทธศาสตร์เกษตรและ

                  สหกรณ์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  สังคม แห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และการพัฒนาประเทศภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0
                  ทั้งนี้ ซึ่งมียุทธศาสตร์ในการพัฒนาการเกษตร ดังนี้

                             1)  ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและ

                  ยั่งยืน

                              เป็นประเด็นส าคัญของการพัฒนาภาคเกษตรบนพื้นฐานการบริหารจัดการทรัพยากร
                  การเกษตรที่มีอยู่อย่างจ ากัด โดยเน้นการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรการเกษตรให้คงความหลากหลาย

                  ทางชีวภาพ สนับสนุนกิจกรรมเกษตรเชิงอนุรักษ์เพื่อคงความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริม

                  การเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการทรัพยากรน ้าและพื้นที่ท ากินทางการเกษตร และ

                  สร้างภูมิคุ้มกันทางการเกษตรต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161