Page 30 - Phetchaburi
P. 30

2-10




                  2.4  สภาพภูมิประเทศ

                        ลักษณะภูมิศาสตรโดยทั่วไป พื้นที่ดานตะวันตกเปนปาไมและภูเขาสูงสลับซับซอน มีเทือกเขา
                  ตะนาวศรีเปนเสนกั้นอาณาเขตระหวางไทยกับพมา เฉพาะในเขตจังหวัดเพชรบุรีมีความยาวประมาณ

                  120 กิโลเมตร แมน้ำสายสำคัญไหลผาน 3 สาย ไดแก แมน้ำเพชรบุรี มีความยาวตลอดสาย 227 กิโลเมตร
                  แมน้ำบางกลอย มีความยาว 44 กิโลเมตร และแมน้ำบางตะบูน มีความยาว 18 กิโลเมตร มีประชากร
                  อาศัยหนาแนนทางตะวันออกของพื้นที่ ซึ่งเปนที่ราบลุมชายฝงทะเล ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดเพชรบุรี
                  แบงเปน 3 เขต คือ

                        ก. เขตภูเขาและที่ราบสูง อยูทางดานตะวันตกของจังหวัดติดกับพมาในบริเวณอำเภอแกงกระจาน
                  และอำเภอหนองหญาปลอง มีภูเขาสูงและเปนบริเวณที่สูงชันของจังหวัด มีลักษณะเปนเทือกเขาทอดยาว
                  จากเหนือมาใต พื้นที่ถัดจากบริเวณนี้จะคอยๆ ลาดต่ำลงมาทางดานตะวันออก บริเวณนี้เปนตนกำเนิด
                  แมน้ำเพชรบุรีและแมน้ำปราณบุรี

                        ข. เขตที่ราบลุมแมน้ำ บริเวณตอนกลางของจังหวัดซึ่งอุดมสมบูรณที่สุด มีแมน้ำเพชรบุรีซึ่งเปน
                  แมน้ำสายสำคัญไหลผาน และมีเขื่อนแกงกระจานและเขื่อนเพชรบุรีซึ่งเปนแหลงน้ำระบบชลประทาน
                  บริเวณนี้เปนเขตเกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัด เขตนี้คือบริเวณบางสวนของอำเภอเมืองเพชรบุรี
                  อำเภอทายาง อำเภอชะอำ อำเภอบานลาด อำเภอบานแหลม และอำเภอเขายอย

                        ค. เขตที่ราบฝงทะเล อยูทางดานตะวันออกของจังหวัด ติดกับชายฝงทะเลดานอาวไทย บริเวณนี้
                  นับเปนแหลงเศรษฐกิจที่สำคัญยิ่งของจังหวัดในดานการประมง การทองเที่ยว เขตนี้ไดแก บางสวนของ
                  อำเภอเมืองเพชรบุรี อำเภอบานแหลม อำเภอทายาง และอำเภอชะอำ ลักษณะพื้นที่ชายฝงเพชรบุรี

                  เหนือแหลมหลวงไปทางทิศเหนือเปนพื้นที่ชายฝงหาดโคลน มีระบบนิเวศปาชายเลน ดานทิศใตของ
                  แหลมหลวงลงไปดานทิศใตเปนหาดทราย แหลมหลวงซึ่งอยูในพื้นที่ตำบลแหลมผักเบี้ยจึงเปนแหลม
                  ที่แบงระบบนิเวศปาชายเลน ออกจากระบบนิเวศหาดทราย เหนือแหลมหลวงขึ้นไปดานทิศเหนือมีลักษณะ
                  เปนหาดโคลนเพราะอยูใกลพื้นที่ชุมน้ำของแมน้ำสายใหญ ไดแก แมน้ำเพชรบุรี แมน้ำบางตะบูน
                  แมน้ำแมกลอง แมน้ำทาจีน และแมน้ำบางปะกง เมื่อฤดูน้ำหลากน้ำจากแมน้ำไดพัดพาตะกอนลงสูทะเล

                  เปนจำนวนมาก จึงสงผลใหพื้นที่ของชายฝงแถบนี้มีตะกอนในน้ำสูง สงผลใหชายฝงมีโคลนจำนวนมาก
                  ซึ่งเหมาะแกระบบนิเวศปาชายเลน เปนแหลงอนุบาลสัตวทะเล บริเวณอาวไทยในเขตอำเภอบานแหลม
                  ถือวาเปนอาวที่พบหอยหลากชนิด เชน หอยเสียบ หอยปากเปด หอยตระกาย หอยตลับ หอยหลอด

                  หอยแครง เปนตน โดยเฉพาะหอยแครง เปนแหลงที่พบมากที่สุดในโลก ภายหลังไดมีการตัดไมปาชายเลน
                  นำไปเผาถาน ทำลายปาเพื่อทำนากุงกุลาดำ จึงสงผลใหปาชายเลนถูกทำลายเปนจำนวนมาก

                  2.5  สภาพภูมิอากาศ
                        จังหวัดเพชรบุรีอยูภายใตอิทธิพลของมรสุมที่พัดประจำเปนฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต

                  ซึ่งเปนลมจากทิศตะวันตกเฉียงใตพัดผานมหาสมุทรอินเดียจึงพาเอาไอน้ำ และความชุมชื้นมาสูประเทศไทย
                  ระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมทำใหมีฝนตกชุกทั่วไป ลมมรสุมอีกชนิดหนึ่ง คือ
                  มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาว จะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนลมเย็นและแหง
                  จากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทยระหวางกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ทำใหจังหวัดนี้
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35