Page 136 - Phetchaburi
P. 136

3-60




                  3.4 ทรัยากรอื่นๆ

                    3.4.1 ทรัพยากรการทองเที่ยว
                           ทรัพยากรการทองเที่ยว หมายถึง สิ่งดึงดูดใจนักทองเที่ยวที่มีอยูในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตั้งแตใน
                  ระดับทองถิ่น จนถึงระดับภูมิภาค และระดับโลก อาจเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเปนสิ่งที่

                  มนุษยสรางขึ้นก็ได โดยสิ่งเหลานั้นจะตองมีความงดงามแปลกตา มีความสำคัญหรือมีคุณคา รวมทั้งวิถี
                  การดำเนินชีวิตอันดีงามที่สะทอนใหเห็นถึงอารยธรรมอันทรงคุณคา และมีลักษณะเดนเปนเอกลักษณ
                  ก็ถือเปนทรัพยากรการทองเที่ยว ประเทศไทยนับเปนประเทศที่ไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร ทำเลที่ตั้ง
                  ลักษณะภูมิประเทศ ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้ออำนวยตอการทองเที่ยว โดยทั่วไปแลวทรัพยากร

                  การทองเที่ยวอาจแบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ (1) ทรัพยากรการทองเที่ยวประเภทธรรมชาติ ไดแก
                  ทรัพยากรการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีความสวยงามแปลกตาตามสภาพทางภูมิศาสตร
                  และธรณีวิทยา เชน การกระทำของกระแสน้ำและคลื่นบริเวณชายฝง รวมทั้งพื้นที่ที่มนุษยเขาไปปรุงแตง
                  ธรรมชาติจนเกิดความสวยงามรมรื่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ไดแก ภูเขา ถ้ำ อุทยานแหงชาติ

                  (2) ทรัพยากรการทองเที่ยวประเภทวัฒนธรรม ไดแก ทรัพยากรการทองเที่ยวที่มนุษยแตละกลุมหรือ
                  ชุมชนไดสรางขึ้น ประดิษฐคิดคน และยึดถือปฏิบัติกันเปนระยะเวลายาวนาน ทรัพยากรประเภทนี้แบง
                  ออกเปน ประเภทประวัติศาสตร โบราณสถาน ศาสนสถาน และประเภทศิลปะ ขนบธรรมเนียม
                  ประเพณี และกิจกรรมตางๆ (สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2552) มีรูปแบบการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติ

                  (Natural based tourism) ประกอบดวย (1) การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หมายถึงการทองเที่ยว
                  ในแหลงธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่นและแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมี
                  กระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใตการจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวม
                  ของทองถิ่นเพื่อมุงเนนใหเกิดจิตสำนึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน (2) การทองเที่ยวเชิงนิเวศ

                  ทางทะเล (Marine ecotourism) หมายถึงการทองเที่ยว อยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติ
                  ทางทะเลที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศทางทะเล โดยมี
                  กระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกี่ยวของภายใต  การจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางมีสวนรวม
                  ของทองถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสำนึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั้งยืน (3) การทองเที่ยวเชิงธรณีวิทยา

                  (Geo-tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติที่เปน หินผา ลานหินทราย อุโมงคโพรง ถ้ำน้ำลอด
                  ถ้ำหินงอกหินยอย เพื่อดูความงามของภูมิทัศนที่มีความแปลกของการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่โลก
                  ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แรตางๆ และฟอสซิล ไดความรูไดมีประสบการณใหม บนพื้นฐานการทองเที่ยว

                  อยางรับผิดชอบ มีจิตสำนึกตอการรักษาสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการ
                  การทองเที่ยว (4) การทองเที่ยวเชิงเกษตร (Agro tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวไปยังพื้นที่
                  เกษตรกรรมสวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟารมปศุสัตวและเลี้ยงสัตวเพื่อชื่นชมความสวยงาม
                  ความสำเร็จและเพลิดเพลินในสวนเกษตร ไดความรูมีประสบการณใหมบนพื้นฐานความรับผิดชอบ
                  มีจิตสำนึกตอการรักษาสภาพแวดลอมของสถานที่แหงนั้น (5) การทองเที่ยวเชิงดาราศาสตร

                  (Astrological tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อการไปชมปรากฏการณทางดาราศาสตร
                  ที่เกิดขึ้นในแตละวาระ เชน สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่ปรากฏใน
                  ทองฟาแตละเดือน เพื่อการเรียนรูระบบสุริยะจักรวาล มีความรูความประทับใจ ความทรงจำและ

                  ประสบการณเพิ่มขึ้น บนพื้นฐานการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบมีจิตสำนึกตอการรักษา
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141