Page 106 - Phetchaburi
P. 106

3-30




                            2) น้ำใตดิน

                              ในปจจุบันมีบอบาดาลทั้งหมด 962 บอ แบงเปนบอบาดาลเพื่อการเกษตร จำนวน 81 บอ
                  และบอบาดาลเพื่ออุปโภค - บริโภค จำนวน 881 บอ รายละเอียดดังตารางที่ 3-12

                  ตารางที่ 3-12 บอน้ำบาดาล จังหวัดเพชรบุรี

                                                        ประเภทบอ
                          อำเภอ                                                     ผลรวมทั้งหมด (บอ)
                                             การเกษตร           อุปโภค - บริโภค

                   แกงกระจาน                      1                   106                  107
                   เขายอย                         -                    86                    86
                   ชะอำ                           25                   271                  296

                   ทายาง                         52                   216                  268
                   บานลาด                         -                    80                    80
                   บานแหลม                        -                      9                    9
                   เมืองเพชรบุรี                   -                    11                    11

                   หนองหญาปลอง                   3                   102                  105
                        รวมทั้งหมด                81                   881                  962


                  หมายเหตุ: แสดงเฉพาะบอบาดาลที่มีขอมูลสมบูรณ
                  ที่มา : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล (2565)

                            คุณภาพน้ำใตดินและศักยภาพในการพัฒนาน้ำใตดิน
                            ในการศึกษาคุณภาพน้ำใตดินของจังหวัดเพชรบุรี พิจารณาจากอัตราการใหน้ำ (yield)
                  และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลา (TDS) เพื่อหาเนื้อที่ที่ควรสงเสริม
                  ใหมีการจัดการน้ำและการพัฒนาน้ำใตดินใหเปนพื้นที่ที่เหมาะสมตอการทำการเกษตรและการอุปโภคบริโภค

                  จากการศึกษาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี พบวามีพื้นที่ที่มีอัตราการใหน้ำ (yield) เปนจำนวนมากอยูในชวง
                  2 - 10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง มีเนื้อที่ 2,847,381 ไร หรือรอยละ 73.18 ของพื้นที่จังหวัด เมื่อพิจารณา
                  รวมกับปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลาจะพบวา มีพื้นที่ที่มีศักยภาพใน
                  การพัฒนาน้ำใตดิน คือ พื้นที่ที่มีอัตราการใหน้ำ (yield) ในชวง <2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง และมีปริมาณ

                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยูในน้ำซึ่งมองไมเห็นดวยตาเปลา (TDS) ที่มีคา <500 มิลลิกรัมตอลิตร มีเนื้อที่
                  2,829,913 ไร หรือรอยละ 72.73 ของพื้นที่จังหวัด ซึ่งเปนพื้นที่ที่เจาหนาที่ที่เกี่ยวของควรสงเสริมใหมี
                  การจัดการน้ำและการพัฒนาน้ำใตดิน เพื่อสงเสริมกิจกรรมทางการเกษตรตอไป รายละเอียดดังตารางที่
                  3-13 และรูปที่ 3-13
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111