Page 82 - Chumphon
P. 82

3-10





                        3.1.3 พื้นที่ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี

                            เขตพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำ
                            ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดชั้นคุณภาพลุมน้ำ เพื่อใหมีการอนุรักษทรัพยากรที่
                  เหมาะสมจึงไดแบงพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำออกเปน 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1A พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1B พื้นที่

                  ลุมน้ำชั้น 2 พื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 พื้นที่ลุมน้ำชั้น 4 และพื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 จากขอกำหนดการใชประโยชนและ
                  การจัดการพื้นที่ลุมน้ำชั้นคุณภาพตาง ๆ สรุปสาระสำคัญไดคือ การใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำชั้น 1 และ
                  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 2 ซึ่งเปนพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญที่ตองสงวนรักษาไวเปนแหลงตนน้ำลำธารและ
                  เปนพื้นที่ปาไมของประเทศ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากการ

                  เปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดงายและรุนแรง ไมควรจะเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใชทำการเกษตร สำหรับการ
                  ใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 4 และพื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 นั้น ใหใชทำการเกษตรไดแตตองมีมาตรการตาม
                  ขอกำหนดการใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำ ไดแก มาตรการดานการอนุรักษดินและน้ำ และการปองกันการ
                  ชะลางพังทลายของดิน เปนตน ดังนั้นขอกำหนดตางๆ จึงมีมาตรการที่เขมงวดแตกตางกัน เพื่อปองกัน

                  การเสื่อมโทรมของดิน และใหสามารถใชประโยชนที่ดินไดอยางยั่งยืนตอไป (รายละเอียดดังภาคผนวกที่ 2)
                  พื้นที่จังหวัดชุมพรประกอบดวยชั้นคุณภาพลุมน้ำดังนี้ (รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3-5 และรูปที่ 3-4)
                            1) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1A เปนพื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเปนปาสมบูรณกอนป 2525 โดย
                  พื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ำลำธาร (หามมีการใชประโยชนอยางอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 511,449

                  ไร หรือรอยละ 13.62 ของเนื้อที่จังหวัด
                            2) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1B เปนพื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 ซึ่งสภาพปาถูกบุกรุก หรือมีการเปลี่ยนแปลงไป
                  เพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอน ป 2525 โดยพื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ำลำธาร และ
                  ควบคุมการใชประโยชนเปนพิเศษ มีเนื้อที่ประมาณ 49,626 ไร หรือรอยละ 1.32 ของเนื้อที่จังหวัด

                            3) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 2 เปนพื้นที่มีความลาดชันคอนขางสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมตอการเปน
                  ปาตนน้ำลำธาร และสามารถนำมาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สำคัญ เชน การทำเหมืองแร สวนยางพารา หรือ
                  พืชที่มีความมั่นคงตอเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ประมาณ 577,165 ไร หรือรอยละ 15.37 ของเนื้อที่จังหวัด
                            4) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 เปนพื้นที่มีความลาดเทสูง สามารถนำมาใชประโยชนไดทั้งกิจกรรมทำไม

                  เหมืองแร และสามารถใชพื้นที่เพื่อการเกษตรไดโดยถาเปนบริเวณที่เปนดินลึกควรปลูกไมผล หรือไมยืน
                  ตน แตถาเปนบริเวณที่เปนดินตื้นควรปลูกปาและทุงหญา มีเนื้อที่ประมาณ 568,381 ไร หรือรอยละ 15.13
                  ของเนื้อที่จังหวัด

                            5) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 4 เปนพื้นที่มีความลาดชันต่ำ และปาถูกบุกรุกเปนพื้นที่ใชประโยชน เพื่อ
                  กิจการทำไม เหมืองแร และสามารถใชพื้นที่เพื่อการเกษตรได โดยถาเปนบริเวณที่เปนดินลึก และมีความ
                  ลาดชันมากควรปลูกไมผล แตถาเปนบริเวณที่มีความลาดชันนอยจะใชประโยชนเพื่อการปลูกพืชไรได มี
                  เนื้อที่ประมาณ 1,186,275 ไร หรือรอยละ 31.59 ของเนื้อที่จังหวัด
                            6) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 เปนพื้นที่ราบลุม มีเนื้อที่ประมาณ 862,734 ไร หรือรอยละ

                  22.97 ของเนื้อที่จังหวัด
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87