Page 54 - Chumphon
P. 54

2-34



                                (3) การประมง
                                  จังหวัดชุมพร มีแหลงน้ำตามธรรมชาติประกอบดวยแมน้ำลำคลองสายสั้นๆ
                  ไหลจากเทือกเขาฝงตะวันตกของจังหวัด คือ เทือกเขาตะนาวศรีซึ่งเปนแหลงตนน้ำลงสูอาวไทยทางดาน

                  ทิศตะวันออกโดยมีแมน้ำลำคลองที่สำคัญ ไดแก แมน้ำทาตะเภา แมน้ำหลังสวน คลองทาแซะ คลองสวี
                  คลองตะโก คลองชุมพร และคลองละแม เปนตน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ติดกับชายฝงทะเลยาวประมาณ
                  222 กิโลเมตร ในขอบเขตตามแนวชายฝงของ 6 อำเภอ คือ อำเภอปะทิว อำเภอเมืองชุมพร อำเภอสวี
                  อำเภอทุงตะโก อำเภอหลังสวน และอำเภอละแม ทำใหจังหวัดชุมพรมีศักยภาพการประมงในระดับสูง

                  ทั้งในดานประมงน้ำจืด การเพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝง ประมงน้ำเค็ม รายไดจากภาคการประมง จึงเปน
                  รายไดสำคัญของประชาชนในจังหวัดชุมพร
                                     ประมงน้ำจืด จำนวนฟารมเกษตรกรที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืด ป 2563 มีจำนวน

                  1,597 ฟารม รวมเนื้อที่ 1,685.79 ไร โดยอำเภอที่มีฟารมที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืดมากที่สุด คือ อำเภอทาแซะ
                  318 ฟารม รองลงมา อำเภอละแม และอำเภอพะโตะ มีฟารมที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำจืด 312 และ 245 ฟารม
                  ตามลำดับ ขณะที่เมื่อพิจารณากำลังการผลิต พบวา อำเภอปะทิว มีผลผลิตการเลี้ยงสัตวน้ำจืดมากที่สุด
                  1,397 ตัน รองลงมา อำเภอหลังสวน 1,150 ตัน และอำเภอเมืองชุมพร 459 ตัน ตามลำดับ (ตารางที่ 2-23
                  และรูปที่ 2-13)

                                     ประมงน้ำเค็ม ปริมาณสัตวน้ำเค็มที่จับไดจากการทำประมงพาณิชยและนำมาขึ้น
                  ทาเทียบเรือในจังหวัดชุมพร ป 2563 สามารถจับสัตวน้ำเค็มได 106,619 ตัน คิดเปนมูลคา 4,062.43 ลานบาท
                  สวนใหญเปนสัตวน้ำเค็มจำพวกปลาเศรษฐกิจสำหรับบริโภคและปลาเปด มีปริมาณ 98,820 ตัน

                  คิดเปนมูลคา 2,945.64 ลานบาท รองลงมา ปลาหมึก มีปริมาณ 4,524 ตัน คิดเปนมูลคา 640.00 ลานบาท
                  และสัตวน้ำเค็มจำพวกกุง กั้ง และเคย มีปริมาณ 1,783 ตัน คิดเปนมูลคา 251.63 ลานบาท ขณะที่เมื่อ
                  จำแนกเครื่องมือการทำประมง พบวา สวนใหญใชเบ็ดมือเปนหลัก คิดเปนรอยละ 32.88 รองลงมาเรือ
                  ประกอบเครื่องกำเนิดไฟฟา (เรือปนไฟ) และอวนครอบหมึก คิดเปนรอยละ 14.11 และ 9.74 ตามลำดับ

                  โดยชาวประมงจะสามารถทำการประมงน้ำเค็มไดประมาณ 7-9 เดือน เนื่องจากในชวงเดือนตุลาคม
                  ถึงเดือนธันวาคมของทุกปเปนหนามรสุม มีคลื่นลมแรง อีกทั้งชวงวันที่ 15 กุมภาพันธถึงวันที่ 15
                  พฤษภาคมของทุกป เปนชวงหามใชเครื่องมือทำการประมงบางชนิดเนื่องจากเปนชวงฤดูวางไข
                  (ตารางที่ 2-24 รูปที่ 2-14 และตารางที่ 2-25)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59