Page 28 - Chumphon
P. 28

2-8




                  2.4  สภาพภูมิประเทศ

                        สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปมีลักษณะยาวและแคบ แบงออกเปน 3 ลักษณะใหญๆ คือ
                  (1) ทางทิศตะวันตกมีลักษณะเปนที่สูง มีเทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขาตะนาวศรีเปนแนวกั้นเขตแดน

                  ธรรมชาติ (2) บริเวณตอนกลาง เปนที่ราบลุมอุดมสมบูรณ เปนเขตเกษตรกรรมที่สำคัญของจังหวัด และ
                  (3) พื้นที่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีลักษณะเปนที่ราบตามแนวชายฝงทะเลของอาวไทย ลักษณะ
                  ชายหาดของจังหวัดชุมพรคอนขางเรียบมีความโคงเวานอย โดยชายฝงทะเลมีความยาวถึง 222
                  กิโลเมตร และความกวางของจังหวัดโดยเฉลี่ยประมาณ 36 กิโลเมตร

                  2.5  สภาพภูมิอากาศ


                        จังหวัดชุมพรอยูภายใตอิทธิพลของมรสุมที่พัดประจำเปนฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันตกเฉียงใต
                  เปนลมจากทิศตะวันตกเฉียงใตพัดผานมหาสมุทรอินเดีย พัดพาไอน้ำและความชุมชื้นมาสูประเทศไทย
                  ระหวางกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมทำใหมีฝนตกชุกทั่วไป โดยเฉพาะพื้นที่ดานตะวันตก
                  ซึ่งเปนดานรับลมจะมีปริมาณฝนมากกวาพื้นที่ราบชายฝงทะเลดานตะวันออก ลมมรสุมอีกชนิดหนึ่ง คือ

                  มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาว จะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนลมเย็นและแหง
                  จากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทยระหวางกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธทำใหมีอากาศ
                  เย็นลงและมีฝนชุกตอเนื่องอีกระยะหนึ่งโดยเฉพาะเดือนตุลาคมและพฤศจิกายนพิจารณาตามลักษณะ
                  ลมฟาอากาศของประเทศไทย แบงฤดูกาลของจังหวัดชุมพรออกไดเปน 3 ฤดู ดังนี้

                        ฤดูรอน เริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเปนชวงเปลี่ยนฤดู ระยะนี้
                  เปนชวงวางของลมมรสุมหลังจากสิ้นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิจะสูงขึ้นโดยเฉพาะในเดือน
                  มีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม อยางไรก็ตามจังหวัดชุมพรอยูใกลทะเลจึงไมรอนมากนัก เพราะไดรับกระแสลม

                  และไอน้ำทำใหอากาศคลายความรอนลงไปมาก
                        ฤดูฝน เริ่มประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งเปนชวงที่ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
                  พัดปกคลุมประเทศไทย และมีรองมรสุมพาดผานภาคใตเปนระยะ ๆ ในเดือนตุลาคมจนถึงเดือน
                  พฤศจิกายนซึ่งเปนระยะแรกที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย ทำใหจังหวัดชุมพร
                  ยังมีฝนชุกตอเนื่อง จนถึงเดือนธันวาคมฝนจึงเริ่มลดลง

                        ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัด
                  ปกคลุมประเทศไทย ในระยะแรกจะยังมีฝนตกจากอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นใน
                  เดือนธันวาคมอุณหภูมิจะลดลงทั่วไป และมีอากาศหนาวเย็นเปนครั้งคราว โดยอุณหภูมิจะลดลงต่ำสุดใน

                  เดือนธันวาคม และเดือนมกราคม
                        จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดชุมพร
                  ในรอบ 29 ป (ชวงป พ.ศ. 2535 - 2564) ดังตารางที่ 2-1 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด
                  อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน น้ำฝนใชการได จำนวนวันฝนตก ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหยน้ำ

                  อธิบายไดดังนี้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33