Page 106 - Chumphon
P. 106

3-34




                  3.3  ทรัพยากรดิน


                        3.3.1 สถานภาพทรัพยากรดิน
                            1) ทรัพยากรดิน
                              จากขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000 (กองสำรวจและ

                  วิจัยทรัพยากรดิน, 2564) พบวา จังหวัดชุมพร มีหนวยแผนที่ดินทั้งหมด 215 หนวยแผนที่ดิน แบงเปน
                  หนวยแผนที่ดิน 211 หนวยชุดดิน มีเนื้อที่ 1,894,328 ไร หรือรอยละ 50.47 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                  หนวยแผนที่ดินที่อยูในพื้นที่ลุม 54 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 410,243 ไร หรือรอยละ 10.93 ของเนื้อที่จังหวัด
                  และหนวยแผนที่ดินที่อยูในพื้นที่ดอน 157 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 1,484,085 ไร หรือรอยละ

                  39.54 ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 4 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 1,861,302 ไร หรือรอยละ
                  49.53 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก เกาะ (I) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC) พื้นที่ชุมชน (U) และพื้นที่น้ำ (W)
                  สามารถอธิบายคุณสมบัติดินตามรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 3-14 และรูปที่ 3-14)
                              ดินในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 410,243 ไร หรือรอยละ 10.93 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่

                  เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ การระบายน้ำเลวมากถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำถึงสูง
                  ดินลึกมาก
                              1) ดินในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 93,542 ไร หรือรอยละ 2.50 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่

                  เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ การระบายน้ำเลวมากถึงคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณต่ำถึงสูง
                  ดินลึกมาก
                                1.1)  กลุมเนื้อดินเหนียว เนื้อดินละเอียด มีเนื้อดินบนเปนดินเหนียวปน
                  ทรายแปง (sic) มีเนื้อดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปง (sic) และดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl)
                  การระบายน้ำเลวมากถึงคอนขางเลว ไดแก ชุดดินสิงหบุรี (Sin) และชุดดินตะกั่วทุง (Tkt)

                                1.2)  กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินละเอียดปานกลาง มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว
                  (cl) และดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl) มีเนื้อดินลางเปนดินเหนียว (c) ดินเหนียวปนทรายแปง (sic)
                  และดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl) การระบายน้ำเลวมากถึงคอนขางเลว ไดแก ชุดดินบางนารา (Ba)

                  ดินคลายชุดดินสายบุรีที่เปนดินเหนียว (Bu-f) ชุดดินเชียรใหญ (Cyi) ชุดดินละงู (Lgu) ชุดดินมูโนะ (Mu)
                  ชุดดินพานทอง (Ptg) ชุดดินพัทลุง (Ptl) ชุดดินระแงะ (Ra) ชุดดินตากใบ (Ta) ชุดดินตะกั่วทุง (Tkt)
                  และชุดดินทาศาลา (Tsl)
                                1.3) กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินปานกลาง มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง (sil)
                  มีเนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl) การระบายน้ำเลวมากถึงคอนขางเลว ไดแก

                  ชุดดินสายบุรี (Bu) และดินคลายชุดดินสายบุรีที่มีศิลาแลงออน (Bu-pic)
                                1.4) กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินหยาบปานกลาง มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย (sl)
                  มีเนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย (scl) ดินรวนปนทราย (sl) และดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดมาก

                  (vgscl) การระบายคอนขางเลวถึงดีปานกลาง ไดแก ชุดดินบานหมี่ (Blm) ชุดดินน้ำกระจาย (Ni) ชุดดินปตตานี
                  (Pti) ชุดดินตนไทร (Ts) ชุดดินวิสัย (Vi) และชุดดินวัลเปรียง (Wp)
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111