Page 61 - khonkaen
P. 61

3-15





                  ตารางที่ 3-3 (ต่อ)


                                                                         ความจุ         พื้นที่ชลประทาน
                                      โครงการ
                                                                    (ล้านลูกบาศก์เมตร)       (ไร่)
                     อ่างเก็บน้้าห้วยยาง                                     3.02             3,805
                     อ่างเก็บน้้าห้วยเตย                                     5.34             3,784

                     อ่างเก็บน้้าห้วยลอมไผ่                                  5.60             6,609
                     อ่างเก็บน้้าแก่งละว้า                                  45.78
                     อ่างเก็บน้้าละเลิงหวาย                                  3.74             2,516
                     อ่างเก็บน้้าโสกรวก                                      1.00               363

                     ประตูระบายน้้าท่าเอียด (อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ)                       8,000
                     พัฒนาหนองยาว-หนองกอย                                                     1,000
                     ประตูระบายน้้าคลองระบายน้้า D8  (ห้วยพระคือ)                             6,603
                     สถานีสูบน้้าด้วยไฟฟ้าบ้านโพธิ์ไช (อันเนื่องมาจาก

                  พระราชด้าริ)
                                        รวม                             2,515.52           373,002

                  ที่มา : ส้านักบริหารโครงการ กรมชลประทาน (2561)

                            3) แหล่งน้้าในไร่นานอกเขตชลประทาน
                              เป็นกิจกรรมของกรมพัฒนาที่ดินที่จะแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้้าเพื่อการเกษตร คือ

                  บ่อน้้าในไร่นา ขนาด 1,260 ลูกบาศก์เมตร มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อใช้ในการเกษตร แต่จะเป็นการเสริม
                  ในช่วงที่ขาดแคลนเท่านั้น จากการตรวจสอบบ่อน้้าในไร่นาที่มีอยู่ในจังหวัดขอนแก่น มีจ้านวน 33,994 บ่อ
                  โดย ปี พ.ศ. 2562-2564 ด้าเนินการขุดแล้ว 8,659 บ่อ รูปที่ 3-5
                        3.2.2 น้้าใต้ดิน

                            1) คุณภาพน้้าใต้ดิน
                              ในการศึกษาคุณภาพน้้าใต้ดินของจังหวัดขอนแก่น พิจารณาจากปริมาณของแข็งที่
                  ละลายเจือปนอยู่ในน้้า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร

                  นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น้้า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ซึ่งรายละเอียด
                  ดังตารางที่ 3-4
                            จากการศึกษา พบว่า อัตราการให้น้้า 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และมีค่าปริมาณ
                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้้ามากกว่า 1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด โดยมีเนื้อที่
                  1,459,702 ไร่ หรือร้อยละ 21.45 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมให้มีการ

                  จัดการน้้าและพัฒนาน้้าใต้ดิน เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางการเกษตรต่อไป













                  แผนการใช้ที่ดินจังหวัดขอนแก่น                                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66