Page 11 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 11

1-1


                                                         บทที่ 1

                                                         บทนํา

               1.1  หลักการและเหตุผล
                       ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน พื้นที่ของประเทศไทยไมสามารถขยายออกไปไดอีกแลว จําเปนตองใชที่ดินที่มี

               อยูอยางจํากัดนี้ อยางมีประสิทธิภาพ ที่ดินและทรัพยากรดินมีความสําคัญตอความเปนอยูของคนไทยอยางยิ่ง
               เนื่องจากเปนปจจัยการผลิตพื้นฐานที่สําคัญ เปนแหลงรวมขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนวิถี

               ชีวิตที่มีมาอยางยาวนาน
                       สถานการณและประเด็นปญหาที่ดินและทรัพยากรดิน ในอดีตมีการขยายพื้นที่เพาะปลูก โดยการนํา

               พื้นที่ปาไมมาใชเพื่อการผลิตทางการเกษตรแทนที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตตอหนวยพื้นที่ กอใหเกิด
               การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใชที่ดินและทรัพยากรดินที่ไมเหมาะสมหรือเต็ม
               ศักยภาพ โดยไมคํานึงถึงการอนุรักษดินและน้ําซึ่งเปนการใชที่ดิน ทรัพยากรดินและน้ําอยางเหมาะสม

               ดวยวิธีการที่ชาญฉลาด คุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด มีความยั่งยืน การขาดการปรับปรุงบํารุงดิน ความเสี่ยง
               และผลกระทบที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศผันผวนมีความรุนแรงมากขึ้น ซ้ําเติมใหความเสื่อมโทรมของ

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรุนแรงมากยิ่งขึ้น กอใหเกิดภัยธรรมชาติ เชน น้ําทวมฉับพลัน หรือน้ําปา
               ไหลหลาก ภัยแลง การขาดมาตรการทางกฎหมายอยางรัดกุม ที่จะจํากัดขนาดการถือครองที่ดิน ไมมีกลไก
               ที่จะชะลอหรือยับยั้งการกระจุกตัวของการถือครองที่ดิน ในขณะที่ประชาชนสวนใหญไมมีที่ดินทํากิน

                       สภาพและปญหาการถือครองที่ดิน การใชประโยชนที่ดินอยางเหมาะสม ถาไดรับการแกไขจะเปน
               ภูมิคุมกันใหกับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย อีกทั้งเปนเครื่องมือสรางความเปนธรรมในสังคม ตลอดจน

               ทําใหที่ดินและทรัพยากรดิน ถูกนําไปใชอยางคุมคาและกระจายไปยังประชาชนกลุมตางๆ อยางเหมาะสม
               นอกจากนี้ ปญหาที่ดินและทรัพยากรดินดังกลาว กอใหเกิดความขัดแยงระหวางหนวยงานของรัฐ หนวยงาน

               ของรัฐกับประชาชน และระหวางประชาชนดวยกัน สถานการณเชนนี้ คาดวาจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น
               เพราะที่ดิน และทรัพยากรดินของประเทศไทยมีจํากัด แตความตองการเพื่อกิจกรรมตางๆ ยังคงเพิ่มขึ้น

               ตลอดเวลา
                       ประเด็นปญหาดังกลาวมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน เปนอุปสรรคตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม

               การรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ ตลอดจนสงผลตอความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ
               และสิ่งแวดลอม ตลอดจนเกษตรกร ซึ่งเปนประชาชนสวนใหญของประเทศไทย มีจํานวนถึง 7 ลานครอบครัว

               หรือประมาณ 25 ลานคน
                       กรมพัฒนาที่ดินเล็งเห็นสถานการณและความรุนแรงของปญหาดังกลาว จึงไดนอมนําและประยุกตใช

               หลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable  Development
               Goals: SDGs)  มาเปนปรัชญานําทางในการดําเนินงานวางแผนการใชที่ดินระดับจังหวัด โดยการสราง

               ความสมดุลระหวางการอนุรักษและการใชประโยชนที่ดินและทรัพยากรดิน พรอมขอเสนอแนะแนวทาง
               การพัฒนาที่ดินและทรัพยากรดิน ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ซึ่งเปนแผนหลักของการพัฒนาประเทศ

               เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน นโยบายและแผนบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560 -
               2579) ประเด็นการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวของ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16