Page 170 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 170

5-12





                  ในการบริหารจัดการพื้นที่ตามสภาพการใชประโยชนที่ดิน โดยแบงพื้นที่ปาไม พื้นที่เกษตรกรรม พื้นท ี ่

                  แหลงน้ำ พื้นที่เมืองและชุมชน พื้นที่อุตสาหกรรม เพื่อใหเกิดการดูแลสิ่งแวดลอม และระบบนิเวศ
                       ้
                  รวมทงความหลากหลายทางชีวภาพ อยางเหมาะสมและเกิดดุลยภาพ ดังนี้
                       ั
                        1. พื้นที่ปาไม และสิ่งแวดลอม เพื่อการอนุรักษปาไม มีความสำคัญอยู 4 ประการตอระบบนิเวศน
                  สิ่งแวดลอม ความหลากหลายทางชีวภาพ และลดสภาวะโลกรอน คือ (ก) เพื่อธำรงไวซึ่งปจจัยสำคัญของ

                  ระบบสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอมนุษยและสัตว และระบบสนับสนุนการดำรงชีวิต เปนการปรับปรุง
                                                                                                      ่
                  ปองกันพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การหมุนเวียนแรธาตุอาหารพืช ตลอดจนการทำน้ำใหสะอาด (ข) เพอ
                                                                                                      ื
                  สงวนรักษาการกระจายของชาติพันธุ ซึ่งขึ้นกับโครงการขยายพันธุตางๆ ที่จำเปนตอการปรับปรุงการ
                  ปองกันธัญญาพืช สัตวเลี้ยง และจุลินทรียตางๆ รวมทั้งสิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีตลอดจน
                                                                                              ั
                                                            ี่
                  การคุมครองอุตสาหกรรมนานาชาติที่ใชทรัพยากรทมีชีวิตเปนวัตถุดิบ (ค) เพื่อเปนหลักประกนในการใช
                  พันธุพืชสัตวและระบบนิเวศเพื่อประโยชนในการยังชีพตามความเหมาะสม และ (ง) เพื่อสงวนรักษา
                  โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปกรรม ซึ่งเปนมรดกล้ำคาไวไปยังอนุชนรุนหลังรวมทั้งระบบสิ่งแวดลอม
                  อื่นๆ ที่มนุษยสรางขึ้น การบำรุงรักษาปา
                                                          ื้
                                                        
                        2. พื้นที่เกษตรกรรม การใชและอนุรักษพนทเกษตร ที่เกษตรกรใชผลิตพืชผล และใหเกษตรกรม ี
                                                             ี่
                  ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน และอนุรักษความหลากหลายทาง
                  ชีวภาพ พืชสมุนไพร ระบบนิเวศดินใหสมบูรณ
                        3. พื้นที่แหลงน้ำ น้ำเปนแหลงกำเนิดชีวิตของสัตวและพืชคนเรามีชีวิตอยูโดยขาดน้ำไดไมเกิน 3
                  วัน และน้ำยังมีความจำเปนทั้งในภาคเกษตรกรรม รักษาระบบนิเวศทางน้ำ และอุตสาหกรรม ซึ่งม ี
                  ความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ การบริหารจัดการน้ำอยางยั่งยืน
                        4. พื้นที่เมือง และชุมชนเมืองนาอยู ในปจจุบันเมืองนาอยูมีความหมายกวาง คือ เปนเมืองที่ม ี

                                                                                         ี่
                  ผูบริหารระดับสูงและ ชุมชนที่มีวิสัยทัศนกวางไกล สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงทจะกอใหเกดผลดี
                                                                                             
                                                                                                  ิ
                  ตอชุมชนในอนาคต สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2546) ไดกำหนด
                  กรอบความคิดในการพัฒนาเมืองนาอยูและชุมชนนาอยู รวมกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ โดย
                  กำหนดใหเมืองนาอยูหรือ ชุมชนนาอยูมีลักษณะสำคัญ 5 ดาน ประกอบดวย 1) ดานสังคม 2) ดาน

                  เศรษฐกิจ 3) ดานกายภาพ 4) ดานสิ่งแวดลอม 5) ดานการบริหารและการจัดการ ซึ่งจะทำใหทุกคนใน
                  เมืองมีสุขภาพอนามัยที่ดีมีสิ่งแวดลอม สังคมที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
                        5. พื้นที่อุตสาหกรรม ปญหาภาวะโลกรอนที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วในชวงศตวรรษที่ผานมา ทำให
                  หลายประเทศใหความสำคัญตอการลดผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งกวา 90 เปอรเซ็นตมาจากกาซเรือน
                  กระจก จากการใชพลังงานถานหินและฟอสซิล รวมทั้งการทำลายปาไมซึ่งเปนแหลงสรางสมดุลตาม

                  ธรรมชาติที่สำคัญที่สุด
                        6. การอนุรักษสถานที่ทองเที่ยว สถานที่ทองเที่ยวที่ปรากฏอยูในภูมิภาคตางๆ ของประเทศไทย
                  จะสามารถจำแนกออกได 2 ชนิดใหญๆ คือ สถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ และสถานที่ทองเที่ยวทาง
                  วัฒนธรรม ควรปฏิบัติ เชน (1) การปองกันไมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเสียหาย และ (2) การรักษาความ

                  สะอาด นับวามีความสำคัญมากเพราะสถานทีทองเทียวจะนาเที่ยวหรือไมจะขึ้นอยูกับความสะอาดเปน
                                                              ่
                                                        ่
                  ปจจัยที่สำคัญ เปนตน
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175