Page 27 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 27

2-11







                    ปริมาณน้ าฝน การระเหยและการคายน้ าอ้างอิง  (มม.)
                                                                                 ปริมาณน้ าฝน
                     350                                                         ศักยภาพการคายระเหยน้ า
                                                                                 0.5 ศักยภาพการคายระเหยน้ า
                     300


                     250

                     200

                     150


                     100

                      50

                       0                                                                         เดือน
                            ม.ค.     ก.พ.     มี.ค.    เม.ย.    พ.ค.     มิ.ย.     ก.ค.     ส.ค.     ก.ย.    ต.ค.     พ.ย.    ธ.ค.

                               ช่วงขาดน้ า                                       ช่วงขาดน้ า
                                                       ช่วงน้ ามากเกินพอ
                                                       ช่วงเพาะปลูกพืช


                   รูปที่ 2-4 กราฟสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2532-2561



                  2.6  สภาพการใช้ที่ดิน

                        2.6.1  สภาพการใช้ที่ดินทั่วไป
                               จากข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร เมื่อน ามาวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดินพบว่ามี
                  การใช้ที่ดิน 5 ประเภท ได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง

                  และพื้นที่น้ า โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 2-2 และรูปที่ 2-5 ซึ่งสรุปได้ดังนี้
                               1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 3,795,148.00 ไร่ หรือร้อยละ 63.22 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ได้แก่ เกษตรผสมผสาน พื้นที่นา พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล พืชสวน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์

                  และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า เป็นต้น ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการท านาข้าวมากที่สุด
                  ร้อยละ 40.72 ของเนื้อที่จังหวัด รองลงมาเป็นการปลูกยางพารา และมันส าปะหลัง ร้อยละ 10.41 และ
                  6.18 ตามล าดับ
                               2) พื้นที่ป่าไม้ มีเนื้อที่ 1,190,953 ไร่ หรือร้อยละ 19.84 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่ส่วน

                  ใหญ่เป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ ร้อยละ 13.41 ของเนื้อที่จังหวัด
                               3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 353,265 ไร่ หรือร้อยละ 5.88 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่
                  ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ ร้อยละ 2.67 ของเนื้อที่จังหวัด
                               4) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง มีเนื้อที่ 350,793 ไร่ หรือร้อยละ 5.84 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหมู่บ้าน ร้อยละ 3.87 ของเนื้อที่จังหวัด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32