Page 178 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 178

ผ-11





                  ราษฎรปลูกไม้ผลและ/หรือไม้ยืนต้นอย่างน้อยร้อยละ20ของเนื้อที่ที่ได้รับกรณีเป็นที่ดินที่ติดกับเขตป่าไม้

                  จะต้องปลูกไม้ผลและ/หรือไม้ยืนต้นเป็นแนวกันชนและให้น าเอาวิธีการจัดรูปแปลงที่ดินให้มีขนาด
                  เหมาะสมเพื่อใช้แก้ไขปัญหาเรื่องที่ดินอยู่อาศัย/ท ากินของราษฎรในเขตป่าไม้ด้วย
                          2) พื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามผลการจ าแนกเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่า

                  ไม้ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 ซึ่งก าหนดไว้ว่า
                  เมื่อด าเนินการในพื้นที่ให้กรมป่าไม้ปรับแนวเขตได้ตามสภาพข้อเท็จจริงและความเหมาะสมใน
                  ภูมิประเทศผลจากการปรับแนวเขตให้ด าเนินการดังนี้
                            (1) บริเวณพื้นที่ที่ปรับออกเป็นพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจหากมีราษฎรอยู่อาศัย/ท ากินให้
                  กรมป่าไม้พิจารณาด าเนินการตามความเหมาะสม

                            (2) พื้นที่ที่ผ่านการตรวจสอบและมีความเหมาะสมที่จะก าหนดไว้เป็นป่าเพื่อการ
                  อนุรักษ์ให้กรมป่าไม้ก าหนดเป็นป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ทั้งนี้ให้กรมป่า
                  ไม้จัดท าแนวเขตที่ชัดเจนและป้องกันดูแลคุ้มครองอย่างเข้มงวดไม่ให้ราษฎรบุกรุกเข้าไปยึดถือ

                  ครอบครองอยู่อาศัยท ากินหากมีการบุกรุกเข้าไปยึดถือครอบครองให้ด าเนินการตามกฎหมายอย่างเฉียบ
                  ขาด

                          ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย เช่น อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
                  และป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1 ชั้นที่ 2 และเขตอนุรักษ์ป่าชายเลน)
                          เนื่องจากเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้ก าหนดขึ้นเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมดินน้ าพันธุ์พืช และ

                  พันธุ์สัตว์ที่มีคุณค่าหายาก เพื่อการป้องกันภัยธรรมชาติเช่นอุทกภัย และการพังทลายของดิน รวมตลอด
                  ถึงเพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาวิจัยนันทนาการของประชาชน และความมั่นคงของชาติดังนี้
                          1) ยืนยันนโยบายของรัฐที่จะไม่น าพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและป่าอนุรักษ์ตามมติ
                  คณะรัฐมนตรีไปด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                          2) ให้กรมป่าไม้ส ารวจพื้นที่ที่มีการครอบครองให้ชัดเจนและขึ้นทะเบียนผู้ครอบครองเพื่อ
                  น ามาใช้เป็นข้อมูลในการจัดการเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
                          3) ให้กรมป่าไม้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบพิสูจน์การครอบครองที่ดินของ

                  ราษฎร โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร (หากไม่มีให้ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม) ซึ่งถ่ายภาพ
                  พื้นที่นั้นไว้เป็นครั้งแรกหลังวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายครั้งแรก ตรวจสอบร่องรอยการ
                  ท าประโยชน์ต่อเนื่องมาก่อนวันสงวนหวงห้ามเป็นพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายครั้งแรก และต้องพิจารณา
                  ร่วมกับพยานหลักฐานอื่น ซึ่งแสดงว่าได้มีการครอบครองท าประโยชน์ต่อเนื่องมาก่อนวันสงวนหวงห้าม
                  นั้นๆ ด้วย

                          4) กรณีผลการตรวจพิสูจน์ พบว่าราษฎรอยู่อาศัย/ท ากินมาก่อน ให้กรมป่าไม้จัดท า
                  ขอบเขตบริเวณที่อยู่อาศัย/ท ากินให้ชัดเจนห้ามขยายพื้นที่เพิ่มเติมโดยเด็ดขาด และด าเนินการตาม
                  กฎหมายเพื่อให้ราษฎรอยู่อาศัย/ท ากินตามความจ าเป็น เพื่อการครองชีพแต่ถ้าเป็นพื้นที่ล่อแหลม

                  คุกคามต่อระบบนิเวศ พื้นที่ที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการคุ้มครองดูแล พื้นที่ป่าอนุรักษ์ตาม
                  กฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี ให้พิจารณาด าเนินการช่วยเหลือราษฎรตามความเหมาะสม เพื่อให้หาที่
                  อยู่อาศัย/ท ากินแห่งใหม่ หรือด าเนินการเคลื่อนย้ายราษฎรออกมาจากบริเวณนั้นไปอยู่อาศัย/ท ากินใน
                  พื้นที่ที่เหมาะสม โดยในพื้นที่รองรับให้มีการสนับสนุนด้านสาธารณูปโภค การพัฒนาคุณภาพชีวิต และ
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183