Page 22 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 22

2-8





                          ปริมาณน้ าฝน มีปริมาณน ้าฝนรวมตลอดปี 3,860.30 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน ้าฝนสูงสุดใน

                  เดือนกันยายนประมาณ 628.40 มิลลิเมตร และปริมาณน ้าฝนต่้าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ประมาณ 45.40
                  มิลลิเมตร
                          ความชื้นสัมพัทธ์ มีความชื นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 83.75 เปอร์เซ็นต์ โดยมีความชื นสัมพัทธ์

                  สูงสุดในเดือนกันยายนและตุลาคมประมาณ 88 เปอร์เซ็นต์ และต่้าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ประมาณ 78
                  เปอร์เซ็นต์
                          การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูก จากการวิเคราะห์สถานการณ์สมดุลของน ้า เพื่อการเกษตร
                  ด้วยข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน ้าเฉลี่ยรายเดือน
                  (Evapotranspiration : ETo) ซึ่งค้านวณโดยใช้โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดย

                  พิจารณาจากช่วงระยะที่น ้าฝนอยู่ที่เหนือระดับเส้น 0.5 ของค่าศักยภาพการคายระเหยน ้า (0.5 ETo)
                  เป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชของจังหวัดพังงาสามารถสรุปได้ดังนี
                        1) ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก จะอยู่ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ถึงต้นเดือน

                  ธันวาคม เนื่องจากดินมีความชื นเพียงพอส้าหรับการปลูกพืช
                        2) ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืช แบ่งออกเป็นช่วงขาดน ้า เนื่องจากมี
                  ปริมาณน ้าฝนน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งจะอยู่ในช่วงกลางเดือนธันวาคมถึงปลาย
                  เดือนมกราคม ในช่วงเวลาดังกล่าวถ้ามีน ้าชลประทานช่วยก็สามารถปลูกพืชฤดูแล้งได้ และช่วงน ้ามาก

                  เกินพอซึ่งจะอยู่ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงปลายเดือนพฤศจิกายน เป็นช่วงที่มีปริมาณน ้าฝนมาก
                  บริเวณที่ลุ่มหรือบริเวณฝั่งแม่น ้า อาจเกิดน ้าท่วมส่งผลเสียหายกับผลผลิตได้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27