Page 44 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 44

2-26





                        2.6.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินทั่วไป

                            การเปรียบเทียบข๎อมูลการใช๎ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการซ๎อนชั้นข๎อมูลแผนที่
                  สภาพการใช๎ที่ดิน พ.ศ. 2550  และ พ.ศ. 2561  รํวมกับการวิเคราะห์โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                  พบวําพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่น้ า มีแนวโน๎มเพิ่มขึ้น ในขณะที่พื้นที่ปุาไม๎ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง

                  พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีแนวโน๎มลดลง
                            การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินแต่ละประเภท
                            เมื่อเปรียบเทียบสภาพการใช๎ที่ดิน ปี พ.ศ. 2550 และ ปี พ.ศ. 2561 โดยการซ๎อนทับชั้นข๎อมูล
                  การใช๎ที่ดิน รํวมกับการใช๎เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศวิเคราะห์ข๎อมูล พบวํา มีการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  การใช๎ที่ดิน โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 2-3 และรูปที่ 2-6 มีดังนี้

                            1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 158,017 ไรํ หรือเพิ่มขึ้นร๎อยละ 9.39 ของเนื้อที่เดิม
                  โดยเมื่อพิจารณาแยกตามประเภทของการใช๎ที่เพื่อการเกษตรกรรมแบบตํางๆ พบวํา
                              (1) พื้นที่นาข๎าว (A1) มีเนื้อที่ลดลง 8,330 ไรํ หรือลดลงร๎อยละ 10.26 ของเนื้อที่เดิม โดย

                  พบวําพื้นที่นาข๎าวมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่ไม๎ยืนต๎น (ปาล์มน้ ามัน) มากที่สุด รองลงมาคือ
                  การเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่ไม๎ผล (มะพร๎าว) และเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่พืชไรํ (สับปะรด) ตามล าดับ
                              (2) พื้นที่พืชไรํ (A2) มีเนื้อที่ลดลง 163,533  ไรํ หรือลดลงเป็นร๎อยละ 23.14  ของเนื้อที่เดิม
                  โดยพบวําเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่ไม๎ยืนต๎น (ยางพารา ปาล์มน้ ามัน) มากที่สุด รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลง

                  เป็นพื้นที่ไม๎ผล (มะพร๎าว มะมํวง) ตามล าดับ
                              (3) พื้นที่ไม๎ยืนต๎น (A3) มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น  287,525  ไรํ หรือเพิ่มขึ้นร๎อยละ 81.04  ของเนื้อที่เดิม
                  โดยพบวําเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ไม๎ผล (มะพร๎าว) มากที่สุด รองลงมาเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่พืชไรํ
                  (สับปะรด) และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ตามล าดับ

                              (4) พื้นที่ไม๎ผล (A4) มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 47,179 ไรํ หรือเพิ่มขึ้นร๎อยละ 10.54  ของเนื้อที่เดิม
                  โดยพบวําเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่พืชไรํ (สับปะรด) มากที่สุด
                              (5) พื้นที่พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ลดลง 542  ไรํ หรือลดลงเป็นร๎อยละ 11.42  ของเนื้อที่เดิม
                  โดยเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่ไม๎ผล (มะมํวง) มากที่สุด รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่พืชไรํ

                  (สับปะรด) ตามล าดับ
                              (6) พื้นที่ทุํงหญ๎าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ (A7)  มีเนื้อที่เพิ่มขึ้น 1,701 ไรํ หรือ
                  เพิ่มขึ้นร๎อยละ 37.26  ของเนื้อที่เดิม โดยพบวําเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ไม๎ผล (มะพร๎าว มะมํวง) มาก

                  ที่สุด รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่พืชไรํ (สับปะรด) ตามล าดับ
                              (7) พื้นที่พืชน้ า (A8) มีเนื้อที่ลดลง 2,532  ไรํ หรือลดลงเป็นร๎อยละ 91.74  ของเนื้อที่เดิม
                  โดยเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่เบ็ดเตล็ด (พื้นที่ลุํม) มากที่สุด
                              (8) สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า (A9) มีเนื้อที่ลดลง 3451  ไรํ หรือลดลงเป็นร๎อยละ 4.28
                  ของเนื้อที่เดิม โดยเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่เบ็ดเตล็ด (พื้นที่ลุํม) มากที่สุด

                            2) พื้นที่ปุาไม๎ มีพื้นที่ลดลง 67,321 ไรํ หรือลดลงร๎อยละ 3.92  ของเนื้อที่เดิม โดยพบวํา
                  เปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่ไม๎ยืนต๎น (ยางพารา ปาล์มน้ ามัน) มากที่สุด รองลงมาคือการเปลี่ยนแปลง
                  เป็นพื้นที่พืชไรํ (สับปะรด) ตามล าดับ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49