Page 33 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 33

2-15






                  2.4  สภาพภูมิประเทศ

                        ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วๆ ไปของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตก ซึ่ง
                  เป็นเทือกเขาตะนาวศรีอันเป็นเทือกเขาที่กั้นพรมแดนระหวํางประเทศไทยกับประเทศเมียนมาร์ ลาดลง

                  สูํด๎านทิศตะวันออกซึ่งเป็นอําวไทย ด๎านตะวันตกเป็นภูเขาสลับซับซ๎อน พื้นที่ราบสํวนมากเป็นที่ราบเชิงเขา
                  บางตอนเป็นที่ราบต่ า มีทั้งที่เป็นปุาทึบ ปุาโปรํง ล าห๎วย ล าคลอง และภูเขา นอกจากทางด๎านทิศตะวันตกแล๎ว
                  ทางด๎านชายฝั่งทะเลด๎านทิศตะวันออกก็มีภูเขาสูงสลับซับซ๎อน ทั้งในทะเลและชายฝั่งทะเล ภูเขา
                  ทางด๎านทิศตะวันตกสํวนใหญํเป็นภูเขาหินแกรนิต สํวนภูเขาด๎านทิศตะวันออกเป็นภูเขาหินปูน

                  ดินโดยทั่วไปเป็นดินรํวนปนทราย บางแหํงมีหินลูกรังปนอยูํด๎วย
                        เทือกเขาที่ส าคัญ ได๎แกํ เทือกเขาสามร๎อยยอด ซึ่งมีความสูงโดยเฉลี่ยของเทือกเขาด๎านตะวันออก
                  ประมาณ 750 เมตร เหนือระดับทะเล สูงสุด 1,215 เมตร ต่ าสุด 306 เมตร สํวนความสูงจากระดับทะเล
                  แถบชายฝั่งตะวันออก โดยเฉลี่ยประมาณ 1-5 เมตร จะเห็นได๎วําพื้นที่มีความลาดคํอนข๎างสูงดังนั้นจึงเกิดมี

                  ล าห๎วยกระจัดกระจายทั่วไป ในทะเลอําวไทยใกล๎ชายฝั่งมีเกาะเล็กเกาะน๎อย จ านวน 17 เกาะ อยูํใน
                  ท๎องที่อ าเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ 8 เกาะ อ าเภอหัวหิน 3 เกาะ และอ าเภอบางสะพานน๎อย 3 เกาะ มี
                  ประชาชนอาศัยอยูํ 2 เกาะ ได๎แกํ เกาะจาน (มีรังนกนางแอํน) และเกาะทะลุ ทางด๎านตะวันตกของ
                  จังหวัดมีลักษณะเป็นปุาตลอดแนวเขตจังหวัด


                  2.5  สภาพภูมิอากาศ

                        ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นอยูํกับอิทธิพลของมรสุมที่พัดประจ าฤดูกาล มี 2 ชนิด
                  คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดพามวลอากาศเย็นและแห๎งจากประเทศจีนเข๎าปกคลุมประเทศไทย
                  ตั้งแตํประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งอยูํในชํวงฤดูหนาวของประเทศไทย ท าให๎

                  มีอากาศหนาวเย็นและแห๎งทั่วไป และมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎พัดพามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทร
                  เข๎าปกคลุมประเทศไทยในชํวงฤดูฝน (กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม) ท าให๎มีฝนตกชุก
                  ทั่วไป แบํงออกตามฤดูกาลได๎ 3 ฤดู ดังนี้
                        ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตํกลางเดือนมกราคมถึงเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นชํวงที่มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
                  พัดปกคลุมประเทศไทยและบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนซึ่งเป็นมวลอากาศเย็นจะแผํลง

                  ปกคลุมประเทศไทยในชํวงดังกลําว ท าให๎มีอากาศหนาวเย็นและแห๎งทั่วไป เดือนที่มีอากาศหนาวมากที่สุด
                  คือ เดือนมกราคม
                        ฤดูร้อน เริ่มตั้งแตํเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นที่มีอากาศร๎อนอบอ๎าวโดยทั่วไป

                  โดยเฉพาะเดือนเมษายนจะเป็นเดือนที่มีอากาศร๎อนอบอ๎าวที่สุดของปี
                        ฤดูฝน เริ่มตั้งแตํเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นชํวงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต๎พัดเอา
                  ความชื้นจากทะเลและมหาสมุทรมาปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับในชํวงดังกลําวรํองความกดอากาศต่ า
                  ที่พาดอยูํบริเวณภาคใต๎ของประเทศไทยเลื่อนขึ้นมาพาดผํานบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  ของประเทศไทย ท าให๎อากาศเริ่มชุํมชื้นและมีฝนตกชุกตั้งแตํกลางเดือนพฤษภาคมเป็นต๎นไป โดยเฉพาะ
                  เดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีฝนตกชุกหนาแนํนมากที่สุดในรอบปี แตํอยํางไรก็ตามนอกจากปัจจัยดังกลําว
                  ที่ให๎มีฝนตกชุกแล๎วยังขึ้นอยูํกับอิทธิของพายุหมุนเขตร๎อนที่เคลื่อนตัวเข๎าใกล๎ หรือเข๎าสูํประเทศไทย
                  ในชํวงดังกลําวด๎วย
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38