Page 89 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 89

3-19




                        3.2.2 สถานภาพทรัพยากรน้ำ

                            1) น้ำผิวดิน
                                      ิ
                              น้ำผิวดน สามารถจำแนกไดเปน 2 ประเภท คือ แหลงน้ำตามธรรมชาตและแหลงน้ำท  ี ่
                                                                                           ิ
                  มนุษยสรางขึ้น ซึ่งในพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุมีน้ำผิวดินทั้ง 2 ประเภท รายละเอียดดังนี้
                              (1)  แหลงน้ำตามธรรมชาติ
                                 จังหวัดกาฬสินธุตั้งอยูในเขตลุมน้ำชีและลุมน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ ในพื้นที่ม ี
                                                             
                  แหลงน้ำผิวดินตามธรรมชาติทมีความสำคัญตอเศรษฐกิจและการดำรงชีวิตของประชากร ซึ่งประกอบไป
                                           ี่
                  ดวยลำน้ำหรือแมน้ำ ลำหวยสายตาง ๆ และเขื่อน รายละเอียดดังนี้

                                     แมน้ำชี เปนแมน้ำสายหลักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
                   ี
                                         ิ
                  มความยาวประมาณ 765 กโลเมตร ขนาดพื้นที่ลุมน้ำประมาณ 49,480 ตารางกิโลฃเมตร เปนแมน้ำทม ี
                                                                                                      ี่
                                                                                                  
                  ความยาวมากที่สุดในประเทศไทย มีตนกำเนิดจากที่ราบดานตะวันออกของเทือกเขาเพชรบูรณ ตั้งแต 
                  เขาสันปนน้ำ เขาแปปนน้ำ เขาเสลียงตาถาด เขาอุมน้ำ เขายอดชี เขาครอก จนถึงเขาเทวดา ซึ่งเปนแนว
                  ภูเขาชายเขตแดนดานตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดชัยภูมิ มีลำน้ำสาขาหลัก 5 ลำน้ำ ไดแก ลำน้ำพรม
                  ลำน้ำพอง ลำน้ำเชิญ ลำน้ำปาว และลำน้ำยัง แมน้ำชีไหลผานจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา ขอนแกน
                                                                                                      
                  มหาสารคาม กาฬสินธุ รอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี และศรีสะเกษ มีสวนหนึ่งไหลผานเขตของอำเภอ
                  กมลาไสยและอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ ระยะทางประมาณ ๔๗ กิโลเมตร แมน้ำชีไหลไปบรรจบ

                  กับแมน้ำมูลที่บานวังยาง ตำบลบุงหวาย อำเภอวารินชำราบ รอยตอจังหวัดศรีสะเกษกับจังหวัด
                  อุบลราชธานี
                                    ลำน้ำปาว ลำน้ำพานและหวยยาง ลำน้ำทั้ง 3 สาย มีแหลงกำเนิดจากเทือกเขาภูพาน
                  แลวแยกสาขาออกไปสูพื้นที่ใน 7 อำเภอของจังหวัดกาฬสินธุ คือ ทาคันโท คำมวง สหัสขันธ หนองกงศรี
                                                                                                    ุ
                  ยางตลาด เมืองกาฬสินธุ และกมลาไสย โดยมีลำน้ำที่สำคัญ คือ ลำน้ำปาวที่ไหลไปรวมกันเปน
                  แองน้ำขนาดใหญ จนภายหลังมีการสรางเขื่อนลำปาวเพื่อกั้นลำน้ำนี้ไวสำหรับใชประโยชนในดานตาง ๆ
                                     ลำน้ำยังหรือลำพยัง มีตนกำเนิดจากเทือกเขาภูพาน ไหลผานอำเภอนาคู อำเภอ
                  หวยผึ้ง อำเภอเขาวง อำเภอกุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ อำเภอโพนทอง อำเภอเมยวดี อำเภอเสลภูม  ิ

                  จังหวัดรอยเอ็ด และไหลมามาบรรจบกับแมน้ำชีที่บานแจงนอย ตำบลคอเหนือ อำเภอเมืองยโสธร
                  จังหวัดยโสธร รวมระยะทาง 225 กิโลเมตร
                                       ลำน้ำอื่น ๆ ไดแก หวยโพธิ หวยสีทน อยูในเขตอำเภอเมืองกาฬสินธุ หวยแกง

                                                                                             ื
                  อยูในเขตอำเภอดอนจาน หวยผึ้ง หวยผา หวยสะทด อยูในเขตอำเภอหวยผึ้ง มีตนกำเนิดจากเทอกเขาภูพาน
                                                                                 
                                                                                ี
                  ลำหวยสานาเวียง อยูในเขตอำเภอเขาวง ลำหวยมะโน หวยยางและหวยขาม มตนกำเนิดจากเทอกเขาภูพาน
                                                                                             ื
                                   
                  อยูในเขตอำเภอนาค  ู
                                    เขื่อนลำปาว เปนเขื่อนดินที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความสูงจากทองน้ำ 33 เมตร
                  สันเขื่อนยาว 7.8 เมตร กวาง 8 เมตร สามารถเก็บน้ำได 1,430 ลานลูกบาศกเมตร โดยมีอาณาเขต
                  ครอบคลุมพื้นที่ตำบลลำปาว อำเภอเมืองกาฬสินธุ ตำบลหนองบัว อำเภอหนองกุงศรี และตำบลเวอ
                                              
                  อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ เริ่มกอสรางตั้งแตป พ.ศ. 2506 สรางเสร็จในปพ.ศ. 2511 เพื่อกั้นน้ำ
                  จากลำน้ำปาวและหวยยางสำหรับไวใชประโยชนทางการเกษตรและชวยบรรเทาอุทกภัย นอกจากนี้ยัง

                  ใชเปนแหลงเพาะพันธุปลาและเปนสถานที่พักผอนของประชาชนโดยทั่วไป
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94