Page 77 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 77

3-7





                                ี่
                        ี
                        ่
                                                           ี่
                                                                                          ี่
                                                                 
                  ตารางท 3-4 พื้นทเขตการใชประโยชนทรัพยากรและทดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ในพื้นทจังหวัดกาฬสินธุ
                                เขตการใชประโยชนทรัพยากร                            เนื้อท  ี่
                            และที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ                    ไร      รอยละ
                   พื้นที่ปาจำแนก                                               992,886         22.87

                   - พื้นที่ปาอนุรักษ (โซน C)                                   478,763        11.03

                   - พื้นที่ปาเศรษฐกิจ (โซน E)                                   462,934        10.66
                   - พื้นที่เหมาะสมกับการเกษตร (โซน A)                              51,189        1.18

                   นอกพื้นที่ปาจำแนก                                          3,348,830         77.13
                                              ี่
                                     รวมเนื้อททั้งหมด                          4,341,716       100.00

                  ที่มา : กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2560)
                                          
                        3.1.3 พื้นที่ปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี
                                  ื้
                            เขตพนที่ชั้นคณภาพลุมน้ำ
                                        ุ
                                                               ้
                            ตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การกำหนดชันคุณภาพลุมน้ำ เพื่อใหมีการอนุรักษทรัพยากรท ี่
                                                                                              
                                                                         
                  เหมาะสมจึงไดแบงพื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ำออกเปน 6 ชั้น คือ พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1A พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1B พื้นท ่ ี
                  ลุมน้ำชั้น 2 พื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 พื้นที่ลุมน้ำชั้น 4 และพื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 จากขอกำหนดการใชประโยชนและ
                  การจัดการพื้นที่ลุมน้ำชั้นคุณภาพตาง ๆ สรุปสาระสำคัญไดคือ การใชประโยชนพื้นทลุมน้ำชั้น 1 และ
                                                                                          ี
                                                                                          ่
                  พื้นที่ลุมน้ำชั้น 2 ซึ่งเปนพื้นที่ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญที่ตองสงวนรักษาไวเปนแหลงตนน้ำลำธารและ
                  เปนพื้นที่ปาไมของประเทศ เนื่องจากมีลักษณะและสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากการ
                  เปลี่ยนแปลงการใชที่ดินไดงายและรุนแรง ไมควรจะเปลียนแปลงพื้นที่เพื่อใชทำการเกษตร สำหรับการ
                                                                 ่
                  ใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำชั้น 3 4 และพื้นที่ลุมน้ำชั้น 5 นั้น ใหใชทำการเกษตรไดแตตองมีมาตรการตาม
                  ขอกำหนดการใชประโยชนพื้นที่ลุมน้ำ ไดแก มาตรการดานการอนุรักษดินและน้ำ และการปองกันการ
                                                                            ี่
                  ชะลางพังทลายของดิน เปนตน ดังนั้นขอกำหนดตาง ๆ จึงมีมาตรการทเขมงวดแตกตางกน เพอปองกน
                                                                              
                                                                                                      ั
                                                                                                ื่
                                                                                           ั
                  การเสื่อมโทรมของดิน และใหสามารถใชประโยชนที่ดินไดอยางยั่งยืนตอไป (รายละเอียดดังภาคผนวกที่ 2)
                  พื้นที่จังหวัดกาฬสินธุประกอบดวยชั้นคุณภาพลุมน้ำดังนี้ (รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3-5 และรูปที่ 3-4)
                            1) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1A เปนพื้นที่ลุมน้ำชั้นที่ 1 ซึ่งมีสภาพเปนปาสมบูรณกอนป 2525 โดย
                  พื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ำลำธาร (หามมีการใชประโยชนอยางอื่น) มีเนื้อที่ประมาณ 85,595 ไร

                  หรือรอยละ 1.97 ของเนื้อท่จังหวัด
                                         ี
                            2) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 1B เปนพื้นที่ลุมน้ำชั้นที 1 ซึ่งสภาพปาถูกบุกรุก หรือมีการเปลี่ยนแปลงไป
                                                               ่
                  เพื่อพัฒนาการใชที่ดินรูปแบบอื่นกอน ป 2525 โดยพื้นที่นี้ควรสงวนรักษาไวเปนปาตนน้ำลำธาร และ
                  ควบคุมการใชประโยชนเปนพิเศษ มีเนื้อที่ประมาณ 2,694 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อท่จังหวัด
                                                                                            ี
                            3) พื้นที่ลุมน้ำชั้น 2 เปนพื้นที่มีความลาดชันคอนขางสูง ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสมตอการเปน
                                                                   
                                                                       
                  ปาตนน้ำลำธาร และสามารถนำมาใชประโยชนเพื่อกิจการที่สำคัญ เชน การทำเหมืองแร สวนยางพารา หรือ
                  พืชที่มีความมั่นคงตอเศรษฐกิจ มีเนื้อที่ประมาณ 170,733 ไร หรือรอยละ 3.93 ของเนื้อท่จังหวัด
                                                                                            ี
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82