Page 100 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 100

3-30

               3.3  ทรัพยากรดิน

                     3.3.1 สถานภาพทรัพยากรดิน

                         1) ทรัพยากรดิน
                           จากขอมูลการสำรวจดินของกรมพัฒนาที่ดิน มาตราสวน 1:25,000 (กองสำรวจและวิจัย
               ทรัพยากรดิน, 2564) พบวา จังหวัดกาฬสินธุ มีหนวยแผนที่ดินทั้งหมด 364 หนวยแผนที่ดิน แบงเปนหนวย
                                             ่
               แผนที่ดิน 360 หนวยชุดดน มีเนื้อที 3,455,974 ไร หรือรอยละ 79.62 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก หนวยแผนที่ดิน
                                     ิ
               ที่อยูในพื้นที่ลุม 108 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 883,715 ไร หรือรอยละ 20.35 ของเนื้อที่จังหวัด และหนวยแผน
                 ี
                           ้
                     ี
                 ่
                           ื
                                                            ี
                                                                                                   ี
                                                            ่
                              ี
                                                  ี
               ทดินท่อยูในพนท่ดอน 252 หนวยแผนท่ดิน มีเนื้อท 2,464,338 ไร หรือรอยละ 56.79 ของเนื้อท่จังหวัด
               และพื้นที่เบ็ดเตล็ด 4 หนวยแผนที่ดิน มีเนื้อที่ 993,663 ไร หรือรอยละ 22.86 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
               ที่ดินหินพื้นโผล (RL) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC) พื้นที่ชุมชน (U) และพื้นที่น้ำ (W) สามารถอธิบายคุณสมบัติดน
                                                                                                        ิ
                                                     ่
               ตามรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 3-14 และรูปที 3-11)
                           ดินในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 883,715 ไร หรือรอยละ 20.35 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่เปนท ี ่
               ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบถึงลูกคลืนลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ำเลวถึงดี ความอุดมสมบูรณตำถึง
                                                 ่
                                                                                                      ่
               ปานกลาง ดินลึกมาก
                                                                                                   ื
                                                                                                   ้
                           1) ดินในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 773,971 ไร หรือรอยละ 17.83 ของเนือทีจังหวัด สภาพพนทีเปน
                                                                                                      ่
                                                                                      ่
                                                                                   ้
               ที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ำเลวถึงดี ความอุดมสมบูรณต่ำถึงสูง
               ดินลึกมาก
                             1.1)  กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินละเอียดปานกลาง มีเนื้อดินบนเปนดินรวนเหนียวปน
                                                                                      
                                             ิ
                                   ิ
                                                                                    ึ
               ทรายแปง (sicl) มีเนื้อดนลางเปนดนเหนียวปนทรายแปง (sic) การระบายน้ำเลวถงคอนขางเลว ไดแก ชุดดิน
               กันทรวิชัย (Ka) ชุดดินหนองกุง (Nkg) หนวยสัมพันธชุดดินธวัชบุรีกับชุดดินกันทรวิชัย (Th-Ka)
                             1.2)  กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินปานกลาง มีเนื้อดินบนเปนดินรวน (l) และดินรวนปน
               ทรายแปง (sil) มีเนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง (sicl) และดินรวนเหนียวปนทราย (scl) การระบาย
                                                                ี
               น้ำคอนขางเลวถึงดีปานกลาง ไดแก ชุดดินละหานทรายทเปนดินรวนละเอียด (Lah-fl) ชุดดินหนองบุญนาก
                                                                ่
               (Nbn) ชุดดินศรีขรภูม (Sik) ชุดดินธวัชบุรีที่เปนดินทรายแปงละเอียด (Th-fsi)
                                 ิ
                                                                            ิ
                                                                                                        ้
                                                                        ี
                                                                          ้
                                                                                     ิ
                                                                                                      ี
                             1.3) กลุมเนื้อดินรวน เนื้อดินหยาบปานกลาง มเนือดนบนเปนดนรวนปนทราย (sl) มเนือ
                                                                                               ิ
                                                                                      ิ
               ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย (scl) ดนรวนปนทราย (sl) ดินเหนียว (c) และดนรวนปนดนเหนียว (cl)
                                                   ิ
               การระบายน้ำคอนขางเลวถึงดีปานกลาง ไดแก ชุดดินบุญฑริก (Bt) ชุดดินกุลารองไห (Ki) ชุดดินละหานทราย
               (Lah) ชุดดินละหานทรายที่เปนดินรวนละเอียด (Lah-fl) ชุดดินละหานทรายที่มีศิลาแลงออน (Lah-pic)
               ชุดดินนาดูน (Nad) ชุดดินนาดูนที่เปนดินรวนหยาบ (Nad-col) ชุดดินหนองบุญนาก (Nbn) ชุดดินโนนแดง
               (Ndg) ชุดดินโนนแดงที่มีศิลาแลงออน (Ndg-pic) ชุดดินรอยเอ็ด (Re) ชุดดินรอยเอ็ดที่เปนดินรวนหยาบ
               (Re-col) ชุดดินสีทน (St)
                             1.4) กลุมดินทราย เนื้อดินหยาบ มีเนื้อดินบนเปนดินทรายปนดินรวน (ls) มีเนื้อดินลาง
               เปนดนทรายปนดนรวน (ls) การระบายน้ำคอนขางเลวถึงดีปานกลาง ไดแก ชุดดินอุบล (Ub)
                    ิ
                              ิ
                           2)  พื้นที่มีการดัดแปลงพื้นที่โดยการยกรองเพื่อปลูกพืช (M2) มีเนื้อที่ 16,545 ไร หรือรอยละ 0.38
               ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอน
                                                                    ่
               ลาดเล็กนอย การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี ความอุดมสมบูรณตำถึงปานกลาง ดินลึกมาก
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105