Page 46 - rambutan
P. 46

2-24





                              แม่น ้าคีรีรัฐ  ต้นก าเนิดจากเขานมสาวกับเขาสก เขตอ าเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

                  และไหลไปลงแม่น้ าตาปีทางฝั่งซ้ายทางทิศตะวันตกของอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี แม่น้ าคีรีรัฐ

                  นี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งเรียกว่า แม่น้ าพุมดวง

                              แม่น ้าตาปี  ต้นน้ าเกิดจากเขาใหญ่หรือเขาหลวงซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาบรรทัด
                  ในอ าเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ผ่านอ าเภอฉวาง เข้าเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีแม่น้ าคีรีรัฐ

                  ไหลมาบรรจบและไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอเมืองสุราษฎร์ธานี แม่น้ านี้เดิมเรียกว่าแม่น้ าหลวง ได้เปลี่ยน

                  มาเรียกชื่อเป็นแม่น้ าตาปี ในปี 2485 และตอนที่แม่น้ านี้จะไหลออกสู่ทะเลที่อ าเภอเมืองสุราษฎร์ธานี

                  จังหวัดสุราษฎร์ธานี เรียกกันว่า แม่น้ าบ้านดอน
                              แม่น ้าตรัง   ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาบรรทัดในเขตอ าเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช

                  และเทือกเขาบางส่วนในเขตจังหวัดกระบี่ ไหลผ่านเข้าสู่จังหวัดตรัง ลงสู่ทะเลในเขตอ าเภอกันตัง

                  อันเป็นเมืองท่าเรือที่ส าคัญแห่งหนึ่งในภาคใต้ มีความยาวตลอดล าน้ าประมาณ 123 กิโลเมตร
                              แม่น ้าปัตตานี  ต้นน้ าอยู่ในเทือกเขาสันกาลาคีรีกั้นพรมแดนประเทศไทยกับ

                  สหพันธรัฐมาเลเซียในเขตอ าเภอเบตง จังหวัดยะลา เป็นแม่น้ าที่ไหลผ่านอ าเภอธารโต อ าเภอบันนังสตา

                  และอ าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา และไหลผ่านจังหวัดปัตตานีที่อ าเภอยะรัง จนกระทั่งออกสู่อ่าวไทย
                  ที่อ าเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี มีความยาวตลอดล าน้ าประมาณ 120 กิโลเมตร

                              แม่น ้าสายบุรี  ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีระหว่างเขาคุลากาโอกับเขาตาโบ้

                  ในอ าเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ไหลขึ้นไปทางเหนือผ่านอ าเภอศรีสาคร อ าเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

                  และไหลผ่านเข้าไปในเขตอ าเภอรามัน จังหวัดยะลา และไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
                  มีความยาวตลอดล าน้ าประมาณ 186 กิโลเมตร

                              แม่น ้าโกลก  ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาสันกาลาคีรีในเขตอ าเภอสุคิริน อ าเภอแว้ง

                  จังหวัดนราธิวาส และไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ าเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาสเป็นแม่น้ าที่แบ่งเขตแดน

                  ระหว่างประเทศไทยกับสหพันธรัฐมาเลเซีย
                          2.4.2  แหล่งน ้าชลประทานผิวดิน

                              แหล่งน้ าผิวดินเป็นโครงการที่มีลักษณะแตกต่างกันทั้งด้านขนาด การใช้ประโยชน์

                  และหน่วยงานที่รับผิดชอบด าเนินการสร้างและบ ารุงรักษา โดยขนาดของโครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดิน
                  สามารถแบ่งได้เป็นโครงการขนาดใหญ่ โครงการขนาดกลาง โครงการขนาดเล็ก และโครงการสูบน้ า

                  ด้วยไฟฟ้า ซึ่งสามารถสรุปรายละเอียดได้ดังนี้ (ตารางที่ 2-4 และตารางที่ 2-5)

                              1)  แหล่งน ้าชลประทานผิวดินภาคเหนือ

                                แหล่งน้ าชลประทานผิวดินภาคเหนือแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่จ านวน 20 โครงการ
                  ปริมาณน้ ากักเก็บ 24,464 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 2,430,929 ไร่ โครงการขนาดกลาง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51