Page 178 - rambutan
P. 178

3-104





                                    การผลิตเงาะตลอดช่วงอายุปีที่ 1-25 คิดเป็นมูลค่าปัจจุบัน (NPV) ในพื้นที่ที่มี

                  ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ในภาคใต้ได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อปี 1,253.24 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่า

                  ปัจจุบันของต้นทุน รายได้และผลตอบแทนการผลิต มีดังนี้ ต้นทุนทั้งหมดเฉลี่ยต่อปี 10,503.55 บาท
                  ต่อไร่ รายได้เฉลี่ยต่อปี 21,674.94 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยต่อปี 11,171.38 บาทต่อไร่ อัตรา

                  ผลตอบแทนภายใน (IRR) ร้อยละ 43.05 ต่อปี อัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนเท่ากับ 2.06 จุดคุ้มทุนในปีที่

                  5 นับว่า ได้รับรายได้ต่อปีจากการลงทุนค่อนข้างต ่าแต่ระยะเวลาคืนทุนค่อนข้างเร็ว คือปีที่ 2 หลังจาก

                  ปีที่เริ่มให้ผลผลิต (ตารางที่ 3-49)

                  ตารางที่ 3-49  ผลผลิตเฉลี่ยและมูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนการผลิตเงาะ ในพื้นที่ภาคใต้

                               ที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) ปีการผลิต 2559

                                          ผลผลิต   ต้นทุนทั้งหมด               รายได้    ผลตอบแทนสุทธิ
                           ปีที่                                   ราคา
                                        (กก./ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)          (บาท/ไร่/ปี)   (บาท/ไร่/ปี)

                            1               -          9,251.83      -           -            -9,251.83
                           2-3              -          5,411.44      -           -            -5,411.44

                           4-10          1,066.76      11,360.97     23.10     24,642.16      13,281.19
                           11-20         1,366.17      11,609.79     23.10     31,558.53      19,948.74
                         มากกว่า 20      1,288.47      12,454.75     23.10     29,763.66      17,308.91

                           รวม          27,571.37     277,973.15              636,898.72     358,925.57
                  NPV (r=7%)                          122,419.04              252,621.66     130,202.62

                  ค่าเฉลี่ยต่อปี (CRF=0.0858)   1,253.24   10,503.55           21,674.94      11,171.38
                  B/C = 2.06              IRR =  43.05 %         จุดคุ้มทุน =  ปีที่ 5


                  ที่มา :  วิเคราะห์จากข้อมูลเบื้องต้นที่ส ารวจโดยกลุ่มเศรษฐกิจที่ดินทางการเกษตร และกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน (2560)

                                  เมื่อเปรียบเทียบต้นทุน รายได้ และผลตอบแทนการผลิตเงาะจ าแนกตามภาค
                  และระดับความเหมาะสมของพื้นที่ปีการผลิต 2559 จะเห็นว่า ภาคตะวันออกในพื้นที่ที่มีระดับความ

                  เหมาะสมสูง (S1) มีต้นทุนการผลิตมากที่สุด 15,197.26 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 12,762.87 บาท

                  ต่อไร่ (ร้อยละ 83.98) ต้นทุนผันแปรที่เป็นค่าแรงงานมีค่าใช้จ่ายมากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความ
                  เหมาะสมปานกลาง (S2) คิดเป็นร้อยละ 52.70 ต้นทุนผันแปรที่เป็นค่าวัสดุการเกษตรคิดเป็นสัดส่วน

                  มากที่สุดในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ร้อยละ 40.83 ส าหรับผลผลิต รายได้/มูลค่าผลผลิต

                  ต่อไร่ ในพื้นที่ที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) ได้ผลผลิตและรายได้/มูลค่าผลผลิตมากที่สุด คือ

                  ผลผลิตเฉลี่ย 1,376.78 กิโลกรัมต่อไร่ เนื่องจากมีการใช้ปริมาณปุ๋ ยเคมีและปุ๋ ยคอกมากกว่าในพื้นที่ที่มี
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183