Page 109 - rambutan
P. 109

3-35





                        3.1.3  การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                            การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจเงาะตามหลักเกณฑ์ของ FAO ได้มี

                  การจ าแนกความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2 อันดับ คือ อันดับที่เหมาะสม (Suitable Order, S) และ

                  อันดับที่ไม่เหมาะสม (Non Suitable Order, N) โดยอันดับที่เหมาะสมนั้นสามารถจ าแนกออกเป็น 3 ชั้น คือ
                  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly Suitable, S1) ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately

                  Suitable, S2) และชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally Suitable, S3) ดังที่ได้กล่าวในหัวข้อ 3.1.1

                  นอกจากนี้ในแต่ละชั้นความเหมาะสมยังแบ่งออกเป็นชั้นย่อย (Subclass) ได้อีก โดยชั้นย่อยนี้จะบ่งบอก
                  ข้อจ ากัดของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช

                            จากการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจเงาะโดยยังไม่พิจารณา

                  ปริมาณน ้าฝน ได้ผลการศึกษาดังนี้ (ตารางที่ 3-3)

                          1)  หน่วยที่ดินที่มีความเหมาะสมสูง ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 3M2 4M2 5M2 7M2 8 15M2
                  18M2 26 27 31 31cal 32 33 และ 38

                          2)  หน่วยที่ดินที่มีความเหมาะสมปานกลาง ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 2M2 6M2 8x 14M2

                  16M2 17M2 22M2 23M2 24M2 26D 27D 28 28D 29 29D 30 30D 31D 33D 34 34D 35 35D 36 36D
                  37 37D 39 39D 40 40D 40sa 40dan 41 41spod 43 44 44D 59M2 60 และ 60D

                          3)  หน่วยที่ดินที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 9M2 11M2 26E 28E

                  29D,d3an 29d3an 29E 30E 31E 34E 35E 36E 39E 41d3ss 42 50 50D 50E 52md 53 53D 53E 54
                  54D 55 55cal 55D 55E 56 56D 56E และ 59

                          4)  หน่วยที่ดินที่ไม่มีความเหมาะสม ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 1 2 3 3sa 4 5 6 7 7sa 9 10

                  10M2 11 12 13 14 15 15cal 16 17 18 18cal 18sa 19 20 20cal 21 22 22sa 22tks 23 24 24sa 25 25M2
                  28M3 29M3 31M3 33M3 35M3 36M3 36M3,cal 37M3 37M3,cal 38M3 40M3 41M3 44M3 45

                  45cal 45D 45E 46 46D 46E 46M3 47 47cal 47D 47E 47M3 48 48D 48E 49 49D 49dan 49sheet 51

                  51D 51E 52 52D 52E 52M3 55M3 56M3 57 58 61 61D และ 62

                            เมื่อได้ระดับความเหมาะสมของที่ดินทางกายภาพแล้วจึงน ามาวิเคราะห์ร่วมกับปริมาณ

                  น ้าฝนเฉลี่ยในคาบ 30 ปี  เนื่องจากเงาะเป็นไม้ผลเขตร้อน ปัจจัยด้านปริมาณน ้าฝนและความชุ่มชื้นที่

                  เหมาะสมเป็นสิ่งจ าเป็นที่ต้องน ามาใช้ในการพิจารณาจัดระดับความเหมาะสม ในการศึกษาใช้ข้อมูล

                  น ้าฝนเฉลี่ยรายปีในรอบ 30 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2530 - 2559 ของกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งเนื้อที่ระดับความ
                  เหมาะสมรายภาคแสดงในตารางที่ 3-4 และเนื้อที่ระดับความเหมาะสมรายจังหวัดแสดงในตารางที่ 3-5

                  โดยแสดงการกระจายตัวของระดับความเหมาะสมในรูปที่ 3-1 ถึง 3-6
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114