Page 79 - pineapple
P. 79

3-21





                  หมายเหตุ : ความหมายของสัญลักษณ์แสดงข้อจํากัดชั้นความเหมาะสม
                   n   =  ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร     w   =  ศักยภาพการใช้เครื่องจักร
                     e   =  ความเสียหายจากการกัดกร่อน     x   =  การมีเกลือมากเกินไป
                     m   =  ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช     M   =  มีการจัดการที่ดินบนที่ดอน
                     r   =  สภาวะการหยั่งลึกของราก      M2  =  มีการจัดการที่ดินแบบยกร่อง
                     z   =  สารพิษ


                  3.2  การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินโดยรวม

                        ในการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินโดยรวมนั้น ได้จากการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ชั้นความเหมาะสม
                  ของหน่วยที่ดิน (ตารางที่ 3-3) ร่วมกับชั้นความเหมาะสมของปริมาณน้ําฝน (รูปที่ 3-1 ) โดยพิจารณา
                  ชั้นความเหมาะสมที่มีข้อจํากัดรุนแรงที่สุดในการปลูกสับปะรดเป็นตัวแทนความเหมาะสมของหน่วยที่ดินนั้นๆ

                        ผลการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินโดยรวมจะได้แผนที่ตามชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับ
                  พืชเศรษฐกิจสับปะรดในประเทศไทย (รูป 3-2) และรายภาคดังแสดงในรูปที่ 3-3 ถึงรูปที่ 3-6 รวมทั้งได้
                  สรุปเนื้อที่ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจสับปะรดในระดับภาคของประเทศดังแสดงใน
                  ตารางที่ 3-3 ซึ่งสามารถนําไปใช้พิจารณาประกอบการกําหนดเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรด

                  ต่อไป โดยพื้นที่ดังกล่าวนั้น ไม่ได้นําพื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายและพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนมาพิจารณาในการ
                  คํานวณเนื้อที่เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ไม่มีมีนโยบายสนับสนุนเกษตรกรรมในพื้นที่ดังกล่าว


                  ตารางที่ 3-3 เนื้อที่ชั้นความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชเศรษฐกิจสับปะรดจําแนกตามรายภาค
                                                                                                หน่วย : ไร่
                                          เหมาะสมสูง  เหมาะสมปานกลาง  เหมาะสมเล็กน้อย
                           ภาค                                                                รวม
                                              (S1)           (S2)             (S3)

                  เหนือ                     918,684       18,913,717       7,023,870       26,856,271
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ        558,067       39,151,806       2,732,502       42,442,375
                  กลาง                      295,309       11,036,451       3,390,116       14,721,876
                  ตะวันออก                  33,812        11,170,485        778,797        11,983,094

                  ใต้                          -           3,677,455       11,580,599      15,258,054
                           รวม             1,805,872      83,949,914       25,505,884     111,261,670

                  หมายเหตุ : พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมายและพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนไม่ได้นํามาพิจารณาในการคํานวณเนื้อที่























                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรดโรงงาน                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84