Page 74 - oil palm
P. 74

2-18





                  อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 6.70 กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 13-13-21

                  อัตรา 6.70  กิโลกรัมตอตน  สําหรับภาคใต  สวนภาคตะวันออกและพื้นที่อื่นๆ  ใชปุยสูตร 15-15-20

                  อัตรา 7.00 กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบโคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30

                  เซนติเมตร
                    26)   กลุมชุดดินที่ 26

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก  เชน  ภาคใต  ภาคตะวันออกวัตถุตนกําเนิดดินเกิด

                  จากการสลายตัวผุพังอยูกับที่  หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อละเอียด
                  ที่มาจากหินตนกําเนิดชนิดตางๆ  ทั้งหินอัคนี  หินตะกอนหรือหินแปร  พบบริเวณพื้นที่ดอนมีสภาพ

                  พื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา เปนดินลึกมาก  มีการระบายน้ําดี  เนื้อดินเปนพวก

                  ดินเหนียว สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึง

                  คอนขางต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก
                       กลุมชุดดินนี้ประกอบดวย หนวยที่ดินที่ 26 26B 26C 26D 26E และ 26gm

                       ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก บางบริเวณอาจพบดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                  ในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันและเนื้อดินบนมีทรายปนจะมีอัตราเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินสูง
                  หากมีการจัดการดินไมเหมาะสม

                       แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต รองกนหลุมดวยปุยหมักหรือปุยคอก 15-25 กิโลกรัม

                  ตอหลุม  และปุยหินฟอสเฟตรองกนหลุม  ประมาณ 0.25  กิโลกรัมตอหลุม  คลุกเคลากับดินทิ้งไว

                  ประมาณ 15 วันกอนปลูกพืช พื้นที่ที่ดินเปนกรดจัดมากใหใชวัสดุปูน อัตรา 0.5-1 กิโลกรัมตอหลุม
                  ปรับปรุงบํารุงดินใสคีเซอรไรต 0.80 กิโลกรัมตอตน ชวงตนและปลายฤดูฝน และโบเรต 0.08 กิโลกรัม

                  ตอตน  ชวงตนฤดูฝน ทําระบบอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่ที่มีความลาดชัน  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน

                  รวมกับการทําขั้นบันได ใชปุยสูตร 18-46-0 อัตรา 1.83 กิโลกรัมตอตน รวมกับปุยสูตร 46-0-0 อัตรา

                  0.81 กิโลกรัมตอตน และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 2.33 กิโลกรัมตอตน หรือใชปุยสูตร 14-14-21 อัตรา 6.70
                  กิโลกรัมตอตน หรือปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 6.70 กิโลกรัมตอตน สําหรับภาคใต สวนภาคตะวันออก

                  และพื้นที่อื่นๆ  ใชปุยสูตร 15-15-20  อัตรา 7.00  กิโลกรัมตอตน ผสมคลุกเคลาใหเขากันแลวหวานรอบ

                  โคนตนหางจากโคนตนประมาณ 30 เซนติเมตร
                    27)   กลุมชุดดินที่ 27

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก  เชน  ภาคตะวันออก  เกิดจากการสลายตัวผุพังของหิน

                  ภูเขาไฟ  พวกหินบะซอลต  พบในบริเวณพื้นที่ดอนมีสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึง
                  ลูกคลื่นลอนชัน เปนดินลึกมาก  มีการระบายน้ําดี  เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวที่คอนขางรวนซุยและมี
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79