Page 222 - oil palm
P. 222

3-63





                  สวนใหญจะเปนเกษตรกรและผูประกอบการรายยอย จึงทําใหการผลิตน้ํามันปาลมของประเทศไทย

                  มีตนทุนการผลิตสูงกวาประเทศเพื่อนบาน ซึ่งนับเปนจุดออนสําคัญที่จะมีผลกระทบตอขีดความสามารถ

                  ในการแขงขันของอุตสาหกรรมน้ํามันปาลม หากประเทศไทยกาวสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
                  ในป 2558 ดังนั้น ในการศึกษาและวิเคราะหดานตนทุน ผลตอบแทนของการปลูกปาลมน้ํามันตลอดชวงอายุ

                  จึงเปนการวิเคราะหเพื่อใชเปนแนวทางประกอบการตัดสินใจในการลงทุนของเกษตรกรและผูสนใจ

                  ทั้งนี้ในการจัดการสวนปาลมน้ํามันเพื่อใหไดผลตอบแทนสูงสุด เกษตรกรตองมีการดําเนินการอยางเปน

                  ระบบและมีเทคนิคในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในแตละชวงอายุ เนื่องจากปาลมน้ํามันเปนพืชที่มีอายุ
                  การใหผลผลิตนานหลายป นอกจากนี้หนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหไปใช

                  เปนขอมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณาเพื่อกําหนดมาตรการหรือการบริหารจัดการพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามัน

                  ตอไป

                             การผลิตพืชไมวาจะเปนพืชชนิดใดก็ตาม เกษตรกรยังขาดขอมูลดานตัวเลขที่จะนําไปทํา
                  การวิเคราะหการลงทุนและผลตอบแทนของตนเอง ซึ่งจริงๆ แลวในยุคสภาวะวิกฤตที่มีการแขงขันของ

                  ตลาดทั้งภายในประเทศและตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะในชวงการกาวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

                  (AEC) ในป 2558 การวิเคราะหขอมูลดานการลงทุนจะนําไปสูการจัดการสวนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
                  เพราะจะทําใหทราบทิศทางในการลงทุนของตนวาจะเปนไปในลักษณะใด โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดสภาวะ

                  ผันผวนหรือเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของการผลิตและการตลาดที่เกิดขึ้นไมวาการเปลี่ยนแปลงนี้จะมา

                  จากปจจัยภายในของสวน เชน กรณีของผลผลิตลดลงหรือมาจากปจจัยภายนอก เชน ผลผลิตลนตลาดหรือ
                  ตนทุนสูงขึ้น เกษตรกรจะไดเตรียมทางออกหรือการตัดสินใจในแตละกรณีได ซึ่งเทากับเปนการเตรียม

                  การแกปญหาในระยะยาวอยางชัดเจน

                             การศึกษาขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนของการผลิตปาลมน้ํามันในครั้งนี้
                  ไดทําการสํารวจขอมูลจากเกษตรกรตัวอยางผูปลูกปาลมน้ํามันในกลุมชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1)

                  ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ในปการผลิต 2555/56

                  ในการวิเคราะหขอมูลทั้งในสวนของผลผลิตและราคาเสมือนกับเปนสวนปาลมน้ํามันแปลงเดียวกัน

                  ตลอดชวงระยะเวลาของการลงทุนโครงการ เพื่อนํามาหาคาเฉลี่ยซึ่งอาจจะไมสอดคลองกับสภาพ
                  ความเปนจริงในทางปฏิบัติ แตขอมูลที่ไดรับใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด ทั้งนี้ เนื่องจากในการศึกษา

                  ครั้งนี้มีขอจํากัดของระยะเวลา

                             เนื่องจากปาลมน้ํามันมีอายุการผลิตเกิน 1 ป และมีอายุการเก็บเกี่ยวผลผลิตหลายป ดังนั้น
                  จึงตองนํามาวิเคราะหตามหลักเกณฑการประเมินโครงการเพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจเกี่ยวกับ

                  การลงทุนและผลตอบแทน โดยใชหลักการหามูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) โดยใช

                  อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.00 ซึ่งเปนอัตราดอกเบี้ยเงินกูของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227