Page 96 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 96

2-78






                  2.5  การใชประโยชนที่ดิน

                        จากการศึกษาสภาพการใชที่ดินป 2562 ของกรมพัฒนาที่ดิน พบวา มีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมด
                  47,619 ไร โดยปลูกในเขตปาตามกฎหมาย เนื้อที่ 40,287 ไร หรือรอยละ 84.60 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ
                  ทั้งประเทศ และปลูกในเขตเกษตรกรรมเนื้อที่ 7,352 ไร หรือรอยละ 15.40 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้ง

                  ประเทศ ดังแสดงในตารางที่ 2-9 (รูปที่ 2-1) แสดงรายละเอียดเปนรายภาคไดดังนี้
                        1) ภาคเหนือ
                          มีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมด 43,062 ไร โดยปลูกในเขตปาตามกฎหมาย เนื้อที่ 39,794 ไร
                  หรือรอยละ 92.41 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคเหนือ และปลูกในเขตเกษตรกรรมเนื้อที่ 3,267 ไร หรือ
                  รอยละ 7.59 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคเหนือ จังหวัดที่ปลูกมะเขือเทศมากที่สุด ไดแก จังหวัดเชียงใหม
                  เนื้อที่ 30,537 ไร หรือรอยละ 70.91 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคเหนือ รองลงมา ไดแก จังหวัด
                  แมฮองสอน เนื้อที่ 11,468 ไร หรือรอยละ 26.63 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคเหนือ และจังหวัดตาก มีเนื้อที่

                  950 ไร หรือรอยละ 2.21 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคเหนือ เปนตน
                        2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                          มีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมด 1,270 ไร โดยปลูกในเขตปาตามกฎหมาย เนื้อที่ 107 ไร หรือ
                  รอยละ 8.42 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และปลูกในเขตเกษตรกรรมเนื้อที่ 1,163 ไร
                  หรือรอยละ 92.58 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดที่ปลูกมะเขือเทศมากที่สุด
                  ไดแก จังหวัดนครพนม มีเนื้อที่ 395 ไร หรือรอยละ 31.12 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  รองลงมา ไดแก จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ 348 ไร หรือรอยละ 27.38 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจังหวัดบึงกาฬ เนื้อที่ 136 ไร หรือรอยละ 10.71 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศ
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนตน
                        3) ภาคกลาง
                          มีพื้นที่ปลูกมะเขือเทศทั้งหมด 3,287 ไร โดยปลูกในเขตปาตามกฎหมาย เนื้อที่ 386 ไร หรือรอยละ
                  11.74 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคกลาง และปลูกในเขตเกษตรกรรมเนื้อที่ 2,901 ไร หรือรอยละ 88.26
                  ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคกลาง จังหวัดที่ปลูกมะเขือเทศมากที่สุด ไดแก จังหวัดลพบุรี เนื้อที่ 2,664 ไร
                  หรือรอยละ 81.05 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคกลาง รองลงมาไดแก จังหวัดสระบุรี เนื้อที่ 513 ไร

                  หรือรอยละ 15.61 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคกลาง และจังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ 69 ไร หรือรอยละ
                  2.09 ของพื้นที่ปลูกมะเขือเทศภาคกลาง เปนตน
                        จากการสำรวจขอมูลสถานการณการผลิตพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
                  พบวาแนวโนมการผลิตมะเขือเทศโรงงาน มีแนวโนมลดลง เมื่อนำขอมูลมาเปรียบเทียบตั้งแตป 2559
                  พบวามีเนื้อที่เพาะปลูกมะเขือเทศโรงงาน 21,823 ไร ป 2560 มีเนื้อที่เพาะปลูกมะเขือเทศโรงงาน 22,313 ไร
                  ป 2561 มีเนื้อที่เพาะปลูกมะเขือเทศโรงงาน 20,888 ไร ซึ่งจะเห็นไดวาพื้นที่การปลูกมะเขือเทศโรงงานมีจำนวนลดลง

                        นอกจากนี้สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรยังสำรวจขอมูลสภาวการณการผลิตมะเขือเทศโรงงาน
                  ในป 2561 แบงเปนรายภาคทั้งสิ้น 2 ภาค และรายจังหวัด 13 จังหวัด แบงรายละเอียดไดดังนี้
                  ภาคเหนือ มีเนื้อที่ปลูก  8,352 ไร จังหวัดที่ปลูกมากที่สุด 6 จังหวัด ไดแก เชียงราย พะเยา ลำปาง
                  เชียงใหม แมฮองสอน ตาก  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ปลูก 12,536 ไร จังหวัดที่ปลูกมากที่สุด 7 จังหวัด
                  ไดแก อุดรธานี  หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม รอยเอ็ด และกาฬสินธุ สำหรับภาคกลางและ
                  ภาคใต นิยมปลูกมะเขือเทศบริโภคสด ดังนั้นจะเห็นไดวามะเขือเทศโรงงานจะพบมากในภาคที่มีที่ตั้งของโรงงาน
                  ที่รับซื้อและผลิตมะเขือเทศโรงงานแปรรูปนั่นเอง





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101