Page 40 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ
P. 40

2-22






                             (1) กลุมชุดดินที่ 24 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                             (2) กลุมชุดดินที่ 24sa เปนดินในกลุมชุดดินที่ 24 ที่พบคราบเกลือปรากฏอยูบนผิวดิน
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เนื้อดินเปนทรายจัด มีความสามารถ

                  ในการอุมน้ำต่ำ พืชมักแสดงอาการขาดน้ำในชวงฝนทิ้งชวงและมีความอุดมสมบูรณต่ำ
                          กลุมชุดดินที่ 25

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวกตะกอนน้ำพาหรือจากการสลายตัวผุพังอยู
                  กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบวางทับอยูบนชั้นหินผุมีที่
                  ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีน้ำแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินตื้นที่มีการระบายน้ำคอนขางเลว

                  พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 25 25/45 25hi และ 25udic
                  โดยมีรายละเอียดดังนี้
                             (1) กลุมชุดดินที่ 25 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                             (2) กลุมชุดดินที่ 25hi เปนดินในกลุมชุดดินที่ 25 พบในสภาพพื้นที่คอนขางดอน มีสภาพ

                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                             (3) กลุมชุดดินที่ 25udic เปนดินในกลุมชุดดินที่ 25 ที่พบในระบอบความชื้น (ดินชื้น)
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                             (4) กลุมชุดดินที่ 25/45 เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 25 และกลุมชุดดินที่ 45

                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินตื้นมีความอุดมสมบูรณต่ำ และมีโอกาส
                  ที่จะขาดน้ำไดงายในชวงฤดูเพาะปลูก บางแหงมีเนื้อดินบนคอนขางเปนทราย

                        กลุมชุดดินที่ 57

                             เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณพื้นที่ราบลุมต่ำหรือพื้นที่พรุมีน้ำแชขังอยูเปนเวลานาน
                  การระบายน้ำเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรียที่สลายตัวปานกลางหนา 40-100 เซนติเมตร
                  บางแหงเปนชั้นอินทรียวัตถุสลับกับพวกดินอนินทรีย สีดินเปนสีดำหรือสีน้ำตาลในชั้นดินอินทรีย
                  สวนดินอนินทรียที่เกิดเปนชั้นสลับอยูมีสีเปนสีเทา ใตชั้นดินอินทรียลงไปเปนดินเลนตะกอนน้ำทะเล
                  ที่มักจะพบระหวางความลึก 50-100 เซนติเมตร มีสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบกำมะถัน

                  (ไพไรต)อยูมาก พบกลุมชุดดินยอยประกอบดวยหนวยแผนที่ ไดแก กลุมชุดดินที่ 57 และ 57/58
                  โดยมีรายละเอียดดังนี้
                             (1) กลุมชุดดินที่ 57 มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                             (2) กลุมชุดดินที่ 57/58 เปนดินที่ประกอบดวยกลุมชุดดินที่ 57 และกลุมชุดดินที่ 58
                  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ
                          - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินอินทรีย เมื่อแหงจะยุบตัวและ
                  ปฏิกิริยาดินจะเปนกรดรุนแรงมาก ทำใหขาดธาตุอาหารพืชอยางรุนแรง นอกจากนี้ยังเปนพื้นที่ที่มีน้ำแชขัง
                  อยูตลอดเวลา








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมะเขือเทศ                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45