Page 135 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 135

3-55






                        3.2.3 ปัญหาความต้องการความช่วยเหลือจากรัฐและทัศนคติของเกษตรกรในการผลิตยาสูบ

                             1) ปัญหาด้านการผลิตยาสูบ
                                จากการศึกษา พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกยาสูบประสบปัญหาด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ
                  77.20 ปัญหาอันดับแรก คือ ราคาผลผลิตต่้า คิดเป็นร้อยละ 42.28 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบที่
                  ประสบปัญหาด้านการผลิตทั งหมด รองลงมา ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง และโรคพืช คิดเป็นร้อยละ
                  33.56 และ 28.52 ตามล้าดับ (ตารางที่ 3-17)

                                เมื่อจ้าแนกการวิเคราะห์ตามพันธุ์ยาสูบ พบว่า เกษตรกรที่ปลูกยาสูบพันธุ์เวอร์ยิเนีย
                  ประสบปัญหาด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ 78.16 ปัญหาอันดับแรก คือ ราคาผลผลิตต่้า คิดเป็นร้อยละ
                  36.76 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบพันธุ์เวอร์ยิเนียทั งหมด รองลงมา ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง และ

                  โรคพืช คิดเป็นร้อยละ 33.82 และ 30.88 ตามล้าดับ เกษตรกรที่ปลูกยาสูบพันธุ์เบอร์เลย์ ประสบปัญหา
                  ด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ 90.29 ปัญหาอันดับแรก ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง คิดเป็นร้อยละ 48.39
                  ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบพันธุ์เบอร์เลย์ทั งหมด รองลงมา โรคพืช และน ้าท่วม คิดเป็นร้อยละ
                  45.16 และ 33.33 ตามล้าดับ เกษตรที่ปลูกยาสูบพันธุ์เตอร์กิช ประสบปัญหาด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ

                  67.96 ปัญหาอันดับแรก คือ ราคาผลผลิตต่้า คิดเป็นร้อยละ 64.29 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบ
                  พันธุ์เตอร์กิชทั งหมด รองลงมา ศัตรูพืชรบกวน และน ้าท่วม คิดเป็นร้อยละ 27.14 และ 17.14
                  ตามล้าดับ (ตารางที่ 3-17)
                             2) ปัญหาด้านการครองชีพ

                                จากการศึกษา พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกยาสูบประสบปัญหาด้านการครองชีพ คิดเป็นร้อยละ
                  22.02 ปัญหาอันดับแรก คือ รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 31.76 ของจ้านวนเกษตรกร
                  ผู้ปลูกยาสูบที่ประสบปัญหาด้านการครองชีพทั งหมด รองลงมา ขาดสาธารณูปโภคพื นฐาน และการคมนาคม
                  ไม่สะดวก คิดเป็นร้อยละ 28.24 และ 27.06 ตามล้าดับ (ตารางที่ 3-17)

                                เมื่อจ้าแนกการวิเคราะห์ตามพันธุ์ยาสูบ พบว่า เกษตรกรที่ปลูกยาสูบพันธุ์เวอร์ยิเนีย
                  ประสบปัญหาด้านการครองชีพ คิดเป็นร้อยละ 19.54 ปัญหาอันดับแรก คือ ขาดสาธารณูปโภคพื นฐาน
                  คิดเป็นร้อยละ 58.82 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบพันธุ์เวอร์ยิเนียทั งหมด รองลงมา รายได้ไม่

                  เพียงพอกับรายจ่าย และการคมนาคมไม่สะดวก คิดเป็นร้อยละ 17.65 เท่ากัน เกษตรกรที่ปลูกยาสูบ
                  พันธุ์เบอร์เลย์ ประสบปัญหาด้านการครองชีพ คิดเป็นร้อยละ 7.77 ปัญหาอันดับแรก รายได้ไม่เพียงพอ
                  กับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 37.50 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบพันธุ์เบอร์เลย์ทั งหมด รองลงมา
                  การคมนาคมไม่สะดวก และสินค้าอุปโภคบริโภคมีราคาสูง คิดเป็นร้อยละ 25 เท่ากัน เกษตรกรที่ปลูก
                  ยาสูบพันธุ์เตอร์กิช ประสบปัญหาด้านการครองชีพ คิดเป็นร้อยละ 45.63 ปัญหาอันดับแรก คือ

                  รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 34.04 ของจ้านวนเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบพันธุ์เตอร์กิชทั งหมด
                  รองลงมา การคมนาคมไม่สะดวก และสุขภาพไม่ดี/ไม่แข็งแรง คิดเป็นร้อยละ 29.79 และ 23.40
                  ตามล้าดับ (ตารางที่ 3-17)










                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140