Page 248 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 248

3-154





                                พื้นที่ภาคต่างๆ ที่ส ารวจการปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ ขาวแตงกวา และ

                  ขาวน ้าผึ้ง พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอของภาคเหนือประสบปัญหาทางด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ

                  94.78 ปัญหาอันดับแรก คือ ขาดแคลนแหล่งน ้า และขาดแคลนน ้าเพื่อการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 63.78
                  เท่ากันของจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ฯ ที่ส ารวจในภาคเหนือทั้งหมด

                  รองลงมา ปัจจัยการผลิตราคาสูง วัชพืชรบกวน และฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง คิดเป็นร้อยละ 48.82 48.82

                  และ 46.46 ตามล าดับ เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอของภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบปัญหาทางด้านการผลิต

                  คิดเป็นร้อยละ 80.56 ปัญหาอันดับแรก คือ ศัตรูพืชรบกวน คิดเป็นร้อยละ 82.76 ของจ านวนเกษตรกร
                  ผู้ปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ ฯ ที่ส ารวจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด รองลงมา

                  ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง วัชพืชรบกวน และโรคระบาด 48.28 48.28 และ 27.59 ตามล าดับ เกษตรกร

                  ผู้ปลูกส้มโอของภาคกลางประสบปัญหาทางด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ 83.91 ปัญหาอันดับแรก คือ

                  ศัตรูพืชรบกวน คิดเป็นร้อยละ 67.58 ของจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ฯ
                  ที่ส ารวจในภาคกลางทั้งหมด รองลงมา ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง ราคาผลผลิตตกต ่า และวัชพืชรบกวน

                  คิดเป็นร้อยละ 50.68  41.10 และ 40.18 ตามล าดับ เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอของภาคตะวันออก ประสบ

                  ปัญหาทางด้านการผลิตทั้งหมด โดยเกษตรกรประสบปัญหาด้านราคาผลผลิตตกต ่าทั้งหมด รองลงมา
                  ศัตรูพืชรบกวน วัชพืชรบกวน และปัจจัยการผลิตมีราคาสูง คิดเป็นร้อยละ 85.71  71.43 และ 64.29

                  ของจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ ฯ ที่ส ารวจในภาคตะวันออกทั้งหมด

                  ตามล าดับ และเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอของภาคใต้ ประสบปัญหาทางด้านการผลิตทั้งหมด ปัญหาอันดับแรก
                  คือ ศัตรูพืชรบกวน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ของจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอพันธุ์ขาวทองดี ขาวใหญ่ฯ

                  ที่ส ารวจในภาคใต้ทั้งหมด รองลงมา น ้าท่วม ปัจจัยการผลิตมีราคาสูง วัชพืชรบกวน และโรคระบาท คิด

                  เป็นร้อยละ 66.67 50.00 และ 50.00  ตามล าดับ (ตารางที่ 3-33)
                                พื้นที่ที่ส ารวจการปลูกส้มโอพันธุ์อื่นๆ (ได้แก่พันธุ์เซลล์เลอร์ และท่าข่อย) ของภาคเหนือ

                  พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอประสบปัญหาทางด้านการผลิต คิดเป็นร้อยละ 84.44 ปัญหาอันดับแรก

                  คือ ขาดแคลนแหล่งน ้าเพื่อการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 71.05 ของจ านวนเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอพันธุ์อื่นๆ

                  ที่ส ารวจในภาคเหนือทั้งหมด รองลงมาปัจจัยการผลิตมีราคาสูง ขาดแคลนน ้าเพื่อการเกษตร และ
                  ศัตรูพืชรบกวน คิดเป็นร้อยละ 68.42 63.16 และ 50.00 ตามล าดับ (ตารางที่ 3-34)


















                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ                              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253