Page 41 - mangosteen
P. 41
2-19
ตารางที่ 2-3 (ต่อ)
กลุ่ม
ลักษณะของกลุ่มชุดดิน ความอุดมสมบูรณ์ ปัญหา
ชุดดิน
47 ดินตื้น ในเขตแห้ง เป็นดินมีเศษหินปะปนมำก ต ่ำถึงปำนกลำง ดินตื้น
และพบชั้นหินพื้นภำยใน 50 ซม.
48 ดินตื้น ในเขตแห้ง เป็นดินมีเศษหิน หรือ ต ่ำ ดินตื้น
หินกรวดมนปะปนมำกและมักพบชั้นหินพื้น
49 ดินตื้น ในเขตแห้ง มักพบชั้นกรวดลูกรังหนำ ต ่ำ ดินตื้น
แน่น และอำจพบชั้นหินแข้งภำยใน 50 ซม.
50 ดินร่วน ในเขตชื้น พบชั้นกรวดลูกรังหรือ ต ่ำ ดินล่ำงปนกรวด
เศษหิน ในช่วงระหว่ำง 50-100 ซม.
51 ดินตื้น ในเขตชื้น เป็นดินมีเศษหินปะปนมำก ต ่ำ ดินตื้น
และพบชั้นหินพื้นภำยใน 50 ซม.
52 ดินด่ำง เหนียว มีเม็ดปูปะปนอยู่มำกภำยใน 50 ซม. ปำนกลำงถึงสูง ดินด่ำงตื้น
53 ดินเหนียว ในเขตชื้น พบชั้นเศษหินหรือ ค่อนข้ำงต ่ำ ดินล่ำงปนกรวด
ชั้นหินพื้น ในช่วงระหว่ำง 50-100 ซม.
54 ดินด่ำง เหนียว มีเม็ดปูปะปนอยู่มำกในช่วง ปำนกลำง ดินด่ำง
ควำมลึก 50-100 ซม.
55 ดินเหนียว ในเขตแห้ง พบชั้นกรวดลูกรัง ปำนกลำง ดินล่ำงปนกรวด
หรือเศษหิน ในช่วงระหว่ำง 50-100 ซม.
56 ดินร่วน ในเขตแห้ง พบชั้นกรวดลูกรัง หรือ ต ่ำ ดินล่ำงปนกรวด
เศษหิน ในช่วงระหว่ำง 50-100 ซม.
57 ดินพรุ มีชั้นอินทรีย์หนำไม่เกิน 100 ซม. ปำนกลำงถึงสูง น ้ำแช่ขัง ยุบตัวและเกิดไฟไหม้
ได้ง่ำยเมื่อแห้งมักเป็นกรด
58 ดินพรุ มีชั้นอินทรีย์หนำมำกกว่ำ 100 ซม. ปำนกลำงถึงสูง ไม่ควรน ำมำท ำกำรเกษตร
59 ดินลุ่ม ในบริเวณร่องเขำ ดินมีกำรผสมของดิน ต ่ำถึงค่อนข้ำงสูง น ้ำท่วมฉับพลัน น ้ำป่ำไหลหลำก
หลำยชนิด มีกำรระบำยน ้ำเลว
60 ดินดอน ในบริเวณร่องเขำ ดินมีกำรผสมของ ต ่ำถึงค่อนข้ำงสูง เสี่ยงต่อควำมเสียหำยเมื่อเกิด
ดินหลำยชนิด มีกำรระบำยน ้ำดี ดินถล่ม
61 ดินบริเวณที่ลำดเชิงเขำ ต ่ำ มีกำรชะล้ำงหน้ำดินสูง
62 ดินในพื้นที่ลำดชัน มีควำมหลำกหลำยของดินมำก - เสื่ยงต่อกำรเกิดกำรชะล้ำงพังทลำย
และดินถล่มไม่ควรท ำกำรเกษตร
ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2556)