Page 74 - coffee
P. 74

2-56







                  2.5  การใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                        จากการสํารวจในป 2552-2553  โดยสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 1  และสวนวิเคราะห
                  สภาพการใชที่ดินที่ 2 สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน พบวาประเทศไทยมีการใชประโยชนที่ดิน

                  เพื่อการปลูกกาแฟทั้งในลักษณะที่ปลูกเปนพืชเดี่ยว และที่ปลูกเปนพืชผสมดังนี้ (ตารางที่ 2-4  และ

                  รูปที่ 2-2 ถึงรูปที่ 2-10)
                        ภาคใต มีพื้นที่ปลูกกาแฟประมาณ 480,612  ไร  หรือรอยละ 94.61  ของพื้นที่ปลูกกาแฟ

                  ทั้งประเทศ ซึ่งสามารถจําแนกไดเปนพื้นที่ปลูกกาแฟนอกเขตปา 205,639 ไร หรือรอยละ 42.79  ของ

                  พื้นที่ปลูกกาแฟภาคใต และพื้นที่ปลูกกาแฟในเขตปา 274,973 ไร หรือรอยละ 57.21  ของพื้นที่ปลูก
                  กาแฟภาคใต โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกกาแฟนอกเขตปามากที่สุด ไดแก จังหวัดชุมพร รองลงมาคือ

                  จังหวัดสุราษฎรธานี

                        ภาคเหนือ มีพื้นที่ปลูกประมาณ 27,372 ไร หรือรอยละ 5.39 ของพื้นที่ปลูกกาแฟทั้งประเทศ

                  ซึ่งสามารถจําแนกไดเปนพื้นที่ปลูกกาแฟนอกเขตปา 1,074 ไร หรือรอยละ 3.92 ของพื้นที่ปลูกกาแฟ
                  ภาคเหนือ และพื้นที่ปลูกกาแฟในเขตปา 26,298 ไร หรือรอยละ 96.08 ของพื้นที่ปลูกกาแฟภาคเหนือ

                  โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกกาแฟนอกเขตปามากที่สุด ไดแก จังหวัดเชียงใหม รองลงมาคือจังหวัด

                  เชียงราย













































                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79