Page 30 - coffee
P. 30

2-12






                        2.3.1 กลุมชุดดิน

                             กลุมชุดดินแตละกลุมมีลักษณะและสมบัติดินที่เฉพาะตามปจจัยการเกิดดินและการสรางดิน

                  เชน สภาพภูมิอากาศ ชนิดวัตถุตนกําเนิดดิน สภาพพื้นที่ ระยะเวลาการพัฒนาของดิน พืชพรรณ

                  ธรรมชาติ สิ่งมีชีวิต และการใชประโยชนที่ดิน ซึ่งลักษณะและสมบัติที่เปนขอเดนประจําแตละ
                  กลุมชุดดินไดสรุปโดยอาศัยการเปรียบเทียบขอมูลเหลานี้กับลักษณะของดินที่พบ จึงทําใหสามารถ

                  จําแนกดินในเบื้องตนไดวานาจะอยูในกลุมชุดดินใด และนําไปสูรายละเอียดอื่นๆ รวมถึงปญหาการใช

                  ประโยชน และแนวทางการจัดการดินที่เหมาะสมในลําดับตอไป

                             กลุมชุดดินที่ 1

                           เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา ในบริเวณเทือกเขาหินปูน

                  หรือหินภูเขาไฟ สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม มีน้ําแชขังในชวงฤดูฝน เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําเลว
                  หรือคอนขางเลว เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวจัด หนาดินแตกระแหงเปนรองลึกในฤดูแลง และมีรอยไถล

                  ในดิน สีดินสวนมากเปนสีดําหรือสีเทาแกตลอด มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง และอาจพบจุดประสีแดง

                  ปะปนตลอดชั้นดิน สวนดินชั้นลางมักมีกอนปูนปะปน ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง
                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.5-8.0  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง

                  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 1 ไดแก  1f  เปนดินที่มีน้ําทวมขังเปนระยะเวลายาวนาน

                        -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  การไถพรวนลําบาก เนื่องจากเปนดิน

                  เหนียวจัด ตองไถพรวนในชวงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสม ในขณะเดียวกันพืชที่ปลูก
                  อาจขาดแคลนน้ําไดงายเมื่อฝนทิ้งชวงนานกวาปกติ เนื่องจากน้ําที่ขังอยูจะซึมหายไปงาย เมื่อดินเริ่มแหง

                  และแตกระแหงเปนรองลึก

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินบานหมี่ (Bm) ชุดดินบานโพธิ์ (Bpo) ชุดดิน

                  บุรีรัมย (Br) ชุดดินชองแค (Ck) ชุดดินโคกกระเทียม (Kk) และชุดดินวัฒนา (Wa)

                             กลุมชุดดินที่ 2

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและ
                  ตะกอนน้ําทะเล แลวพัฒนาในสภาพน้ํากรอย พบบริเวณที่ราบชายฝงทะเลหรือที่ราบลุมภาคกลาง

                  ดินมีการระบายน้ําเลว มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวหรือดินเหนียวจัด หนาดินอาจแตกระแหงเปนรองลึก

                  ในฤดูแลงและมีรอยไถลในดิน สีดินเปนสีเทาหรือสีเทาแกตลอด มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลืองหรือ

                  สีแดงปะปนตลอดชั้นดิน อาจพบผลึกยิปซัมบางเล็กนอยและพบชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสีเหลือง
                  ของสารจาโรไซตในระดับความลึกประมาณ 100 ถึง 150 เซนติเมตร ทับอยูบนชั้นดินเลนตะกอน

                  น้ําทะเลที่มีสีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากมีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.0







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35