Page 85 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 85

3-35


                     3.2.4 สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                                                                                                        ิ
                                          
                                                                  ั
                                                                       ี่
                           จากการวิเคราะหขอมูลการสำรวจดินของกรมพฒนาทดิน มาตราสวน 1:25,000 (กองสำรวจดน
               และวิจัยทรัพยากรดิน, 2564) ขอมูลการใชที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม (กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน,
               2562) ขอมูลพื้นที่ชลประทาน (กรมชลประทาน, 2560) ขอมูลผลวิเคราะหดิน (Lab analysis) ของชุดดินใน
                                                                  ิ
               ประเทศไทย (Soil series) (กองสำรวจดนและวิจัยทรัพยากรดน, 2564) ขอมูลขอบเขตการปกครอง (กรมการ
                                                 ิ
               ปกครอง, 2556) และขอมูลขอบเขตพื้นที่การผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ที่อยูในประกาศของกรม
               ทรัพยสินทางปญญา สามารถจัดทำหนวยที่ดินไดทั้งสิ้น 11 หนวยที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 4) แบงเปน หนวย
               ที่ดินในพื้นที่ลุม 11 หนวยที่ดิน มีเนื้อที่ 80,567 ไร คิดเปนรอยละ 78.71 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสม
                                                                                     ี
                                                                                     ่
               โอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศฯ ไดแก หนวยที่ดินลุมทั่วไป หนวยที่ดินลุมที่อยูในเขตชลประทาน (I)
               และหนวยที่ดินลุมที่มีการยกรองและอยูในเขตชลประทาน (IM2) และหนวยเบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 21,798 ไร คิด
                             
                                                 
               เปนรอยละ 21.29 ของพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศฯ ไดแก พื้นท ี ่
                                        ่
                                        ี
               เลี้ยงสัตวน้ำ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง และพื้นที่น้ำ (รายละเอียดดังรูปที่ 3-20)
                                                                          ี่
                                                                                                       
                           หนวยที่ดินที่มีการยกรอง (M2) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมทมีการทำการเกษตรโดยการปลูกไมยืน
               ตนหรือไมผล
                           หนวยที่ดินที่มีคันนา (M3) คือหนวยที่ดินในพื้นที่ดอนที่มีการทำการทำคันนาเพื่อปลูกขาว
                                                       ื
                           หนวยที่ดินที่มีการพูนโคน (M4) คอหนวยที่ดินในพื้นที่ลุมที่มีการทำการเกษตรโดยการปลูกพชไร
                                                                                                       ื
               พืชไรหมุนเวียน หรือพืชสวน
                           ซึ่งหนวยที่ดินดังกลาว สามารถจำแนกเปนประเภทกลุมดินตามลักษณะและสมบัติดิน
                                             ่
                                             ี
               (รายละเอียดดังรูปที่ 3-37) ในพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศฯ พบวา
                                                                                               ิ
                                                                                   ี่
                                                                ี
                                                                     ี่
                                   ี
               กลุมดินที่มีการยกรองมเนื้อที่ 75,232 ไร ซึ่งเปนกลุมดินที่มเนื้อทมากที่สุดในพื้นทดังกลาว โดยคดเปนรอยละ
               73.50 ของพื้นที่ตามประกาศฯ รองลงมาคือ กลุมดินเหนียว มีเนื้อที่ 5,335 ไร (รอยละ 5.21)
                                                                                                      
                                           ่
                           ชุดดินที่พบในพื้นทขอบเขตพื้นที่การผลิตสมโอขาวใหญสมุทรสงครามตามประกาศฯ ไดแก ชุด
                                           ี
               ดินสมุทรสงคราม (Sso) ชุดดินธนบุรี (Tb) ชุดดินดำเนินสะดวก (Dn) ชุดดินบางกอก (Bk) และชุดดินทาจีน
               (Tc) (รายละเอียดดังรูปที่ 3-22)
                           จากการวิเคราะหขอมูลการใชที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม ป 2562 และจากการสำรวจพื้นทพบวา
                                                                                                     ี่
               สมโอขาวใหญสมุทรสงครามปลูกอยูบนชุดดินธนบุรี (Tb) มากที่สุด รองลงมาคือ ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso)
               ชุดดินบางกอก (Bk) และชุดดินดำเนินสะดวก (Dn)
                                                                                  ุ
                                                                                
                           ซึ่งลักษณะและสมบัติของชุดดินธนบุรี (Tb) ที่ปลูกสมโอขาวใหญสมทรสงครามนั้นมลักษณะเปน
                                                                                               ี
               ดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียว สีดำ พบจุดประสีน้ำตาลแก ดินลางตอนบนเปนดินเหนียวสีเทาหรือสีเทาเขม
                                                                                                        
               และดินลางเปนดินเลนสีเทาปนเขียวหรือสีน้ำเงิน พื้นที่เพาะปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงครามมีสภาพพื้นท ่ ี
                                                                                                 ิ
                                                                                         ี
               ราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลว มีการจัดการโดยการยกรองเพอปลูกสมโอ ชุดดินธนบุรีมปริมาณอนทรียวัตถ ุ
                                                                   ื่
               และปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับปานกลาง  แตมีปริมาณโพแทสเซียมเปน
               ประโยชนตอพืชในดินอยูในระดับสูง ซึ่งเปนประโยชนตอการสรางความหวานใหแกสมโอขาวใหญ
                  ุ
               สมทรสงคราม
                           ลักษณะและสมบัตของชุดดินสมทรสงคราม (Sso) ที่ปลูกสมโอขาวใหญสมทรสงครามนั้นเปนดน
                                          ิ
                                                                                                        ิ
                                                     ุ
                                                                                     
                                                                                        ุ
                                                                                                  ี
                                                                ิ
               ที่ถูกปรับสภาพพนที่โดยการยกรอง มีลักษณะเปนดินลึก ดนบนเปนดนเหนียว สีน้ำตาลเขมปนเทา มจุดประสี
                             ื้
                                                                        ิ
               น้ำตาลแก ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีเทา ดินลางตอนลางเนื้อดินเปนดินเลนทะเล สีเทาเขมหรือสีเทาปน
                                                                                             
               เขียว พื้นที่เพาะปลูกสมโอขาวใหญสมุทรสงครามมีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินมีการระบายน้ำเลวมาก มีการยก
                                       
               แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90