Page 3 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 3

คำนำ


                         ื
                        พช GI คือ พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indication) เปนที่ตองการของผูบริโภค เนื่องจาก
                  มีตราสัญลักษณ GI ที่บงบอกถึงคุณภาพและแหลงที่มาของสินคา เปนสินคาที่มีมูลคาและสวนแบง
                  ทางการตลาดสูง ปจจุบันกรมทรัพยสินทางปญญาไดออกตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรไทย

                  ใหแกผูผลิตสินคาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ซึ่งอยูในแหลงภูมิศาสตรที่ไดรับการขึ้นทะเบียน เพื่อสงเสริม
                  และพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชน ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและสรางความยั่งยืนใหแกชุมชน
                        ปจจุบัน ยังไมมีหนวยงานใดกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตามชั้นความเหมาะสม
                  ของที่ดิน กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดทำแผนการใชที่ดินพืชบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนฐานขอมูลการผลิตสินคาเกษตร
                              ิ่
                                                  
                          
                  อัตลักษณพนถนสำหรับการดำเนินงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน การวางแผนการใชที่ดินระดับตำบล เปนตน
                           ื้
                  เพื่อสนับสนุนใหเกษตรกรมีความมั่นคงทางอาชีพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ภายใตยุทธศาสตร
                  การปรับโครงสรางสินคาเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อคุมครองทรัพยากรดินที่เหมาะสม
                  สำหรับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และเพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการขยายผลแผนพัฒนาพืชบงชี    ้
                  ทางภูมิศาสตรในอนาคตแบบบูรณาการ หนวยงานทเกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และผูสนใจ
                                                              ่
                                                              ี
                                  ู
                  สามารถนำฐานขอมลสารสนเทศพืชบงชี้ทางภูมศาสตรของกรมพัฒนาที่ดินไปวิจัยตอยอด หรือใชประโยชน
                                                        ิ
                               
                  สำหรับกำหนดแผนงานและนโยบายการพัฒนาประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยในปงบประมาณ
                  พ.ศ. 2566 มีการวางแผนการใชที่ดินพืช GI 6 ชนิด ประกอบดวย พริกบางชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม
                  สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว และสมโอนครชัยศรี
                        การดำเนินงานดังกลาวไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากหนวยงานตาง ๆ ไดแก กรมทรัพยสิน
                                                                                           
                  ทางปญญา กระทรวงการคลัง สถานีพัฒนาที่ดิน กองสำรวจและวิจัยทรัพยากรดิน ในการอนุเคราะหขอมล
                                                                                                      ู
                                                                                                   
                  ที่เกี่ยวของเพื่อจัดทำแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย คณะผูจัดทำเอกสาร
                  วิชาการ หวังเปนอยางยิ่งวาฐานขอมูลสารสนเทศพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของประเทศไทย และเอกสาร
                  วิชาการฉบับนี้ จะสามารถใชเปนกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบายและแผนงานพัฒนาพืชบงชี    ้

                  ทางภูมิศาสตรของประเทศไทยในอนาคตแบบบูรณาการ อยางยั่งยืน

                                                                              คณะผจัดทำเอกสารวิชาการ
                                                                                   ู
                                                                                        2566
   1   2   3   4   5   6   7   8