Page 124 - โครงการศึกษาการจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย
P. 124

2-96





                        2.5.3  ภาคตะวันออก

                             พืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่เลือกน ามาศึกษาจากภาคตะวันออก มีจ านวน 6 ชนิดพืช ได้แก่
                  มะม่วงน้ าดอกไม้สีทองบางคล้า มะพร้าวน้ าหอมบางคล้า สับปะรดศรีราชา ทุเรียนปราจีน สับปะรดทอง
                  ระยอง และสับปะรดตราดสีทอง มีรายละเอียดดังนี้

                             1)  มะม่วงน้้าดอกไม้สีทองบางคล้า
                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกมะม่วงน้ าดอกไม้สีทองบางคล้า ครอบคลุมพื้นที่

                  อ าเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา พื้นที่บริเวณดังกล่าวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดฉะเชิงเทรา
                  ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มฝั่งแม่น้ า มีแม่น้ าบางปะกงไหลผ่านทางทิศตะวันตก
                  ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่ (รูปที่

                  2.5-25)
                             2)  มะพร้าวน้้าหอมบางคล้า

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกมะพร้าวน้ าหอมบางคล้า ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอบาง
                  คล้า อ าเภอคลองเขื่อน และอ าเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของพื้นที่ (รูปที่ 2.5-26)

                             3) สับปะรดศรีราชา

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกสับปะรดศรีราชา ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอศรีราชา
                  อ าเภอบางละมุง อ าเภอบ่อทอง อ าเภอหนองใหญ่ อ าเภอบ้านบึง อ าเภอสัตหีบ อ าเภอพนัสนิคม และ
                  อ าเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี พื้นที่บริเวณดังกล่าวโดยทั่วไปมีทั้งพื้นที่ลาดเนินเขา มีภูเขาเล็กๆ
                  กระจายทั่วไป ไม่มีแม่น้ าล าคลองขนาดใหญ่ไหลผ่าน มีทางน้ าไหลจากภูเขาลงสู่ทะเล ลักษณะภูมิ

                  ประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 48.33 รองลงมาคือพื้นที่ราบเรียบ
                  ถึงค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา
                  คิดเป็นร้อยละ 21.41 12.06 8.82 2.25 และ 0.40 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-27)

                             4)  ทุเรียนปราจีน

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกทุเรียนปราจีน ครอบคลุมพื้นที่อ าเภอเมืองปราจีนบุรี
                  อ าเภอประจันตคาม อ าเภอศรีมหาโพธิ์ และอ าเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่
                  เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 31.65 รองลงมาคือพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้าง
                  ราบเรียบ พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่เนินเขา และพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน คิดเป็น
                  ร้อยละ 31.15 11.78 9.01 8.19 และ 5.49 ของพื้นที่ตามล าดับ (รูปที่ 2.5-28)

                             5)  สับปะรดทองระยอง

                               ลักษณะภูมิประเทศในพื้นที่ปลูกสับปะรดทองระยอง ครอบคลุมพื้นที่ 8 อ าเภอ ได้แก่
                  อ าเภอเมืองระยอง อ าเภอแกลง อ าเภอบ้านค่าย อ าเภอปลวกแดง อ าเภอบ้านฉาง อ าเภอวังจันทร์
                  อ าเภอเขาชะเมา และอ าเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ คิดเป็นร้อยละ 32.78 รองลงมาคือพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129