Page 90 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน 2565
P. 90

80








                     ตารางที่ 7 (ต่อ)

                                                                                          เนื้อที่
                          สัญลักษณ์                ประเภทการใช้ที่ดิน
                                                                                     ไร่          ร้อยละ
                           M103        ไผ่ป่า ไผ่หนาม                                  3,415          0.05

                           M201        พื้นที่ลุ่ม                                     2,669          0.04
                           M300        เหมืองเก่า บ่อขุดเก่า                             910          0.01
                           M301        เหมืองแร่                                       7,252          0.10
                           M302        บ่อลูกรัง                                         571          0.01
                           M303        บ่อทราย                                            58             -

                           M304        บ่อดิน                                            541          0.01
                           M401        พื้นที่กองวัสดุ                                   159             -
                           M403        ที่หินโผล่                                         35             -

                           M405        พื้นที่ถม                                       2,198          0.03
                           M701        ที่ทิ้งขยะ                                        150             -
                                             รวมทั้งหมด                            7,140,382        100.00


                       ที่มา: จากการวิเคราะห์โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน
                              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน


                       2.8 สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดศรีษะเกษ ปี พ.ศ. 2565

                            จังหวัดศรีสะเกษ มีเนื้อที่ทั้งหมด 5,524,984 ไร่ สามารถจําแนกประเภทการใช้ที่ดินออกเป็น
                       5 ประเภท คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 324,161 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.86 ของเนื้อที่

                       จังหวัด พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 4,262,680 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 77.16 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ป่า
                       ไม้(F) มีเนื้อที่ 622,566 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.27 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่น้ํา (W) มีเนื้อที่ 175,982 ไร่
                       คิดเป็นร้อยละ 3.19 ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด (M) มีเนื้อที่ 139,595 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       2.52 ของเนื้อที่จังหวัด โดยการใช้ประโยชน์ในพื้นที่แต่ละประเภท มีรายละเอียด (ภาพที่ 8 และ
                       ตารางที่ 8) ดังนี้

                            2.8.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 324,161 ไร่ หรือร้อยละ 5.86 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ประกอบด้วยตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง หมู่บ้านบนพื้นราบ สถานที่ราชการ
                       และสถาบันต่าง ๆ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง โรงงานอุตสาหกรรม ลานตากและ

                       แหล่งรับซื้อทางการเกษตร สถานที่ร้าง สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท โรงแรม เกสต์เฮ้าส์ สุสาน
                       ป่าช้า สถานีบริการน้ํามัน
                                  1) ตัวเมืองและย่านการค้า (U1) มีเนื้อที่ 25,380 ไร่ หรือร้อยละ 0.46 ของเนื้อที่
                       จังหวัด ประกอบด้วยตัวอําเภอเมืองศรีสะเกษ อําเภอยางชุมน้อย อําเภอกันทรารมย์ อําเภอกันทรลักษ์

                       อําเภอขุขันธ์ อําเภอไพรบึง อําเภอปรางค์กู่ อําเภอขุนหาญ อําเภอราษีไศล อําเภออุทุมพรพิสัย
                       อําเภอบึงบูรพ์
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95