Page 51 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน 2565
P. 51
41
ตารางที่ 3 (ต่อ)
เนื้อที่
สัญลักษณ์ ประเภทการใช้ที่ดิน
ไร่ ร้อยละ
M พื้นที่เบ็ดเตล็ด 161,298 4.68
M101 ทุ่งหญ้าธรรมชาติ 7,884 0.23
M102 ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ 52,740 1.53
M103 ไผ่ป่า ไผ่หนาม 57 -
M201 พื้นที่ลุ่ม 86,827 2.52
M300 เหมืองเก่า บ่อขุดเก่า 560 0.02
M301 เหมืองแร่ 361 0.01
M302 บ่อลูกรัง 639 0.02
M303 บ่อทราย 1,001 0.03
M304 บ่อดิน 1,196 0.04
M401 พื้นที่กองวัสดุ 109 -
M403 ที่หินโผล่ 6,281 0.18
M405 พื้นที่ถม 2,529 0.07
M601 หาดทราย 801 0.02
M701 ที่ทิ้งขยะ 313 0.01
รวมทั้งหมด 3,445,418 100.00
ที่มา: จากการวิเคราะห์โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กลุ่มวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
2.4 สภาพการใช้ที่ดินจังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ. 2565
จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 6,451,178 ไร่ สามารถจําแนกประเภทการใช้ที่ดินออกเป็น
5 ประเภท คือ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 481,217 ไร่ หรือร้อยละ 7.46 ของเนื้อที่
จังหวัด พื้นที่เกษตรกรรม (A) มีเนื้อที่ 4,956,613 ไร่ หรือร้อยละ 76.83 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ป่าไม้
(F) มีเนื้อที่ 621,262 ไร่ หรือร้อยละ 9.63 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่น้ํา (W) มีเนื้อที่ 287,657 ไร่
หรือร้อยละ 4.46 ของเนื้อที่จังหวัด และพื้นที่เบ็ดเตล็ด (M) มีเนื้อที่ 104,429ไร่ หรือร้อยละ 1.62
ของเนื้อที่จังหวัด โดยการใช้ประโยชน์ในพื้นที่แต่ละประเภท มีรายละเอียด (ภาพที่ 4 และตารางที่ 4)
ดังนี้
2.4.1 พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 481,217 ไร่ หรือร้อยละ 7.46 ของเนื้อที่
จังหวัด ประกอบด้วยตัวเมืองและย่านการค้า หมู่บ้าน/ที่ดินจัดสรรร้าง หมู่บ้านบนพื้นราบ สถานที่
ราชการและสถาบันต่าง ๆ สนามบิน ถนน ทางรถไฟ พื้นที่อุตสาหกรรมร้าง โรงงานอุตสาหกรรม
ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร สถานที่ร้าง สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ รีสอร์ท โรงแรม
เกสต์เฮ้าส์ สุสาน ป่าช้า สถานีบริการน้ํามัน