Page 3 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 3

ค ำน ำ



                           รายงาน “การศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการ
                                      ี
                                     ้
                                      ่
                     เปลี่ยนแปลงการใชทดน (Land Use Change and Climate Change): กรณีศึกษาพื้นที่จัดสรรที่ดินทำกิน
                                       ิ
                     ตามนโยบาย คทช. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู ท้องที่ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม จังหวัด
                               ั
                                    ้
                                    ึ
                                       ้
                                                                                      ่
                                                                                          ๊
                                                                                             ื
                                                                        ิ
                                                  ์
                                                         ึ
                                                                  ้
                     นครพนม” จดทำขนดวยเจตนารมณในการศกษาแนวโนมและทศทางการปลดปลอยกาซเรอนกระจกจากการ
                     เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ด้วยเป็นวาระที่ประเทศไทยอยู่ระหว่างการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญ 2 ด้าน
                     ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรดินและที่ดิน เพื่อให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างยั่งยืน
                     คู่ขนานร่วมกันทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ซึ่งมีความเชื่อมโยงต่อกันใน 2 มิติ ได้แก่ นโยบาย
                     จัดสรรที่ดินทำกินภายใต้กรอบคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) และข้อตกลงตามกรอบ
                     พันธกรณีด้านป่าไม้และการใช้ที่ดิน ชื่อว่า “ปฏิญญากลาสโกว์ของผู้นำด้านป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                     (Glasgow Leaders’ Declaration on Forests and Land Use)” ซึ่งประเทศไทยได้เข้าร่วมรับรองให้
                     ความร่วมมือภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC)

                     โดยกรมพัฒนาที่ดิน มีบทบาทสำคัญในการขบเคลื่อนกรอบนโยบาย คทช. ในฐานะหน่วยสนับสนุนภายใต    ้
                                                           ั
                                        ิ
                                           ั
                           ุ
                                                                                                  ั
                                    ่
                     คณะอนกรรมการสงเสรมพฒนาอาชีพและการตลาด และข้อตกลงระหว่างประเทศตามกรอบพนธกรณีด้าน
                     ป่าไม้และการใช้ที่ดิน ดังกล่าวเช่นกัน
                           การดำเนินงานศึกษาฯ ดังกล่าวนี้ ได้รับความสนับสนุนจากองค์การอาหารเพื่อการเกษตรแห่ง

                     สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organisation of the United Nations: FAO) ภายใต้แผนงาน
                     UN-REDD Programme เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำแม่โขงตอนล่าง (Sustainable

                     Forest Trade on the Lower Mekong Region: SFT-LMR) ในการยับยั้งการตัดไม้ทำลายป่าและดินเสื่อม
                                                               ิ
                                                                       ู
                                                                 ิ
                                                     ื
                                                   ี
                                             ึ
                     โทรมระดับภูมิภาค ผลการศกษาฯ น้ ถอเปนความรเร่มการบรณาการกรอบนโยบายภายในประเทศร่วมกับ
                                                         ็
                     กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งสามารถใช้ประกอบการกำหนดแผนงานหรือข้อเสนอเชิงนโยบาย
                                                                                                           ็
                     ในกระบวนการวางแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงบูรณาการสำหรับพ้นที่ป่าไม้และเกษตรกรรม ซึ่งมีประเดน
                                                                            ื
                     ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน (Land Use Change and Climate
                     Change) เป็นปัจจัยพิจารณาสำคัญ
   1   2   3   4   5   6   7   8