Page 78 - รายงานการศึกษาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
P. 78

5-2





                  เพียงพอตอการผลิตตลอดทั้งป และเกษตรกรรอยละ 20.71 มีปริมาณน้ำไมเพียงพอตอการผลิต ซึ่งสามารถ

                  ใชน้ำในสระไดเฉลี่ย 5.26 เดือนตอป
                                ดานการผลิตของเกษตรกรกอนและหลังเขารวมโครงการ พบวา กอนเขารวมโครงการ

                  เกษตรกรทั้งหมดมีการใชประโยชนที่ดินเปนการผลิตขาวนาปเพียงอยางเดียว โดยสวนใหญเปนการกระจาย
                  ผลผลิตเพื่อจำหนายรอยละ 71.43 และเพื่อการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 35.71 มีตนทุนในการผลิต
                  เฉลี่ย 2,278.71 บาทตอไร มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 5,299.54 บาทตอไร ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 3,020.83 บาทตอไร

                  และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.33
                                หลังเขารวมโครงการเกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตเปนเกษตรผสมผสาน โดยสวนใหญ

                  เปนการกระจายผลผลิตเพื่อจำหนายรอยละ 65.91 และเพื่อการบริโภคและหรือแลกเปลี่ยนรอยละ 34.09
                  มีตนทุนในการผลิตเฉลี่ย 4,084.37 บาทตอไร มูลคาผลผลิตเฉลี่ย 11,125.83 บาทตอไร ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย
                  7,041.46 บาทตอไร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) 2.72

                                สรุปไดวา เมื่อเกษตรกรเขารวมโครงการไดปรับเปลี่ยนการผลิตจากการผลิตแบบเกษตร
                  เชิงเดี่ยว (ขาวนาป) เปนการผลิตแบบเกษตรผสมผสานทำใหมีตนทุนการผลิตเพิ่มขึ้น 1,805.66 บาทตอไร

                  แตสงผลใหเกษตรกรมีมูลคาผลผลิตเฉลี่ย และผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย เพิ่มขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน 5,826.29
                  และ 4,020.63 บาทตอไร ตามลำดับ และมีอัตราสวนรายไดตอตนทุนทั้งหมด (B/C Ratio) จาก 2.33 เพิ่มขึ้น

                  เปน 2.72
                             3) คุณภาพชีวิตและทัศนคติของเกษตรกร
                                ดานคุณภาพชีวิต เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ย 3.26 ดานที่มี

                  คาเฉลี่ยสูงสุด ไดแก ดานสิ่งแวดลอม คาเฉลี่ย 3.49 รองลงมา คือ ดานจิตวิญญาณ คาเฉลี่ย 3.46 ดานครอบครัว
                  คาเฉลี่ย 3.43 และดานสังคมเศรษฐกิจ คาเฉลี่ย 3.19 ตามลำดับ สวนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ดานสุขภาพ
                  คาเฉลี่ย 3.09 โดยเกษตรกรมีความพึงพอใจตอโครงการอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.55
                                ดานทัศนคติ เกษตรกรสวนใหญมีการแนะนำและเผยแพรขอมูลขาวสารของโครงการ

                  รอยละ 88.57 และไมไดมีการแนะนำ รอยละ 11.43 เหตุผลสวนใหญที่ไมแนะนำ 3 ลำดับแรก ไดแก ตองการ
                  ทดลองทำเองใหเกิดผลสำเร็จกอนรอยละ 56.25 รองลงมาคือ ไมมีเวลารอยละ 22.92 และสถานการณการแพร
                  ระบาดโควิด-19 รอยละ 20.83 ตามลำดับ ดานปญหาและอุปสรรค เกษตรกรมีปญหาและอุปสรรครอยละ 42.62

                  ในการเขารวมโครงการลักษณะปญหาและอุปสรรคที่พบมากที่สุด 3 ลำดับแรก ไดแก ดินมีธาตุอาหารนอย
                  ขาดความอุดมสมบูรณรอยละ 43.58 รองลงมา คือ ปจจัยการผลิตที่ไดรับสนับสนุนไมเพียงพอรอยละ 29.61
                  และความลาชาของโครงการรอยละ 18.99 ตามลำดับ สวนขอเสนอแนะในการพัฒนาโครงการที่เกษตรกร
                  แนะนำมากที่สุด 3 ลำดับแรก ไดแก ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนปจจัยการผลิตใหเพียงพอรอยละ 61.01
                  รองลงมาคือ ใหคำปรึกษา แนะนำและใหความรูเพิ่มเติมแกเกษตรกรรอยละ 22.94 และติดตามผลการ

                  ดำเนินงานอยางตอเนื่องรอยละ 14.22 ตามลำดับ
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83