Page 36 - รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจังหวัดชัยนาท
P. 36

1,541.80 บาท โดยมีต้นทุนต่อกิโลกรัม 7.30 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio)
                  เท่ากับ 1.31 (ตารางที่ 8)
                                2) มันสำปะหลัง เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 3.16 ตัน คิดเป็นมูลค่า

                  ผลผลิต 7,836.80 บาท มีต้นทุนทั้งหมด 6,434.45 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 4,763.17 บาท และต้นทุน
                  คงที่ 1,671.28 บาท เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน พบว่า เกษตรกรได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด
                  4,100.39 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 3,073.63 บาท และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                  1,402.35 บาท โดยมีต้นทุนต่อตัน 2,036.22 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio)
                  เท่ากับ 1.22 (ตารางที่ 8)

                                3) อ้อยโรงงาน เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 9.85 ตัน คิดเป็นมูลค่าผลผลิต
                  10,539.50 บาท มีต้นทุนทั้งหมด 7,132.48 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 5,993.72 บาท และต้นทุนคงที่
                  1,138.76 บาท เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน พบว่า เกษตรกรได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด

                  6,824.21 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 4,545.78 บาท และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                  3,407.02 บาท โดยมีต้นทุนต่อตัน 724.11 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio)
                  เท่ากับ 1.48 (ตารางที่ 8)
                           3.1.4 กลุ่มชุดดินที่ 21 (ข้าวนาปี–ข้าวนาปรัง และส้มโอ)

                                1) ข้าวนาปี–ข้าวนาปรัง
                                   ข้าวนาปี (พืชครั้งที่ 1) เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 791.77 กิโลกรัม
                  คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 7,569.32 บาท มีต้นทุนทั้งหมด 4,585.42 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 2,949.52 บาท
                  และต้นทุนคงที่ 1,635.90 บาท เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน พบว่า เกษตรกรได้ผลตอบแทนเหนือ

                  ต้นทุนเงินสด 5,033.48 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 4,619.80 บาท และผลตอบแทนเหนือ
                  ต้นทุนทั้งหมด 2,983.90 บาท โดยมีต้นทุนต่อกิโลกรัม 5.79 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
                  (B/C Ratio) เท่ากับ 1.65 (ตารางที่ 8)
                                   ข้าวนาปรัง (พืชครั้งที่ 2) เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 881.40 กิโลกรัม

                  คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 8,355.67 บาท มีต้นทุนทั้งหมด 4,861.89 บาท แบ่งเป็นต้นทุนผันแปร 3,214.21 บาท
                               ี่
                  และต้นทุนคงท 1,647.68 บาท เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน พบว่า เกษตรกรได้ผลตอบแทนเหนือ
                  ต้นทุนเงินสด 5,690.69 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 5,141.46 บาท และผลตอบแทนเหนือ

                  ต้นทุนทั้งหมด 3,493.78 บาท โดยมีต้นทุนต่อกิโลกรัม 5.52 บาท และอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
                  (B/C Ratio) เท่ากับ 1.72 (ตารางที่ 8)
                                   ข้าวนาปี–ข้าวนาปรัง เฉลี่ยต่อเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ (2 Crop ต่อปี) ให้ผลผลิตเฉลี่ย
                  1,673.17 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าผลผลิต 15,924.99 บาท มีต้นทุนทั้งหมด 9,447.31 บาท แบ่งเป็นต้นทุน
                  ผันแปร 6,163.73 บาท และต้นทุนคงที่ 3,283.58 บาท เมื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน พบว่า เกษตรกร

                  ได้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 10,724.17 บาท ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 9,761.26 บาท
                  และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 6,477.68 บาท โดยมีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (B/C Ratio)
                  เท่ากับ 1.69 (ตารางที่ 8)







                                                                             ี่
                  รายงานการประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจสำหรับพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในระดับพื้นท จังหวัดชัยนาท   29
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41